Page 20 - BookYana_forebook
P. 20

ลูกค้าเป็นอย่างสูง นอกจากนั้นก็เป็นการให้สินเชื่อเกี่ยวกับการค้าและธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนกิจการ

               โรงสีข้าว ซึ่งเป็นผลิตผลหลักของประเทศ เป็นส าคัญ

                       ในด้านของบริการที่ให้แก่การค้าระหว่างประเทศนั้น ด้วยปริมาณการส่งข้าวออกไปต่างประเทศสูงขึ้น
               อย่างรวดเร็ว ประกอบกับธนาคารมีตัวแทนในทวีปยุโรป สามารถอ านวยความสะดวกได้เป็นอย่างมาก ทั้ง

               พ่อค้าข้าวชาวไทยและจีน ซึ่งควบคุมการค้าข้าวของประเทศไทยไว้ได้เกือบทั้งหมดมีความนิยมมาใช้บริการของ

               ธนาคารมากกว่าจะไปติดต่อกับธนาคารอื่นๆ ซึ่งไม่สะดวกในการใช้ภาษาในการตกลงเงื่อนไขต่างๆ ดังนั้น
               ปริมาณธุรกิจด้านการค้าระหว่างประเทศจึงเป็นธุรกิจที่ส าคัญมากด้านหนึ่งของธนาคารในทันทีที่เปิดด าเนิน

               ธุรกิจ ด้วยเหตุนี้จึงท าให้แบงก์สยามกัมมาจล ตกลงว่าจ้างให้ นาย พี ชวาร์ตเช่            (Mr. P.Schwarze)

               ชาวเยอรมันที่ธนาคารเยอรมันสาขาเมืองเซี่ยงไฮ้ส่งเข้ามาแทน นาย เอฟ คิเลียน เป็นผู้ช่วยผู้จัดการฝ่าย
               ต่างประเทศต่อไป

                                เมื่อมีปริมาณธุรกิจสูงขึ้น ทั้งมีพนักงานเพิ่มขึ้นเป็นจ านวนมาก จึงท าให้จ าเป็นต้องแสวงหาที่ท า
               การใหม่ หลังจากซื้อที่ดินย่านตลาดน้อย ติดกับต าบลส าเพ็ง ย่านธุรกิจที่ส าคัญและสร้างส านักงานชั่วคราวขึ้น

               เมื่อได้ย้ายเข้าไปท างานในส านักงานชั่วคราวแล้ว จึงลงมือก่อสร้างส านักงานแห่งใหม่จนแล้วเสร็จ แบงก์

               สยามกัมมาจลจึงย้ายขึ้นไปท าการในตัวตึกส านักงานตลาดน้อย ใน พ.ศ. 2453 และได้เปิดบริการด้านต่างๆ
               เพิ่มขึ้น ได้แก่ เงินฝากสงวนทรัพย์ หรือเงินฝากออมทรัพย์ขึ้นด าเนินการเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เพื่อช่วย

               ให้ประชาชนรู้จักออมทรัพย์ ซึ่งมีที่เก็บที่ปลอดภัยและได้รับผลตอบแทนตามสมควรขึ้น นอกจากนี้ยังได้ริเริ่ม
               น าบริการเงินฝากประจ า เงินฝากเผื่อเรียก (Deposit at call) และการให้กู้เบิกเกินบัญชีขึ้นอีกเช่นกัน

                                ในปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่าง พ.ศ. 2452 ถึง 2453 นี้

               เป็นช่วงที่เศรษฐกิจการค้าฝืดเคือง เนื่องจากผลิตข้าวได้น้อย การค้าข้าวตกต่ าท าให้พ่อค้าข้าวต้องเลิกกิจการ
               ไปจ านวนมาก และหนี้ของธนาคารหลายแห่งกลายเป็นหนี้เสียไป บริษัทแบงก์สยามกัมมาจลทุนจ ากัดได้รับ

               ผลกระทบเช่นกัน ภายหลังจึงมีการเพิ่มทุนอีกจ านวน 3 ล้านบาท พร้อมทั้งปรับปรุงองค์กรใหม่ โดยให้มี

               ผู้จัดการเพียงคนเดียวคือ นายวิลเลเก (Mr.A.Willeke) ชาวเยอรมันซึ่งมาจากธนาคารเยอรมันที่เซี่ยงไฮ้ส่งมา
               แทน นายชวาร์ตเช่ ด ารงต าแหน่งนี้ต่อมา

                                ครั้นมาใน พ.ศ. 2457 สงครามโลกครั้งที่ 1 เกิดขึ้นในทวีปยุโรป แบงก์สยามกัมมาจลก็ยังคง
               ด าเนินธุรกิจไปตามปกติ จนกระทั่ง ใน พ.ศ. 2460 ประเทศไทยประกาศเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร ท าให้

               นายวิลเลเก ชาวเยอรมันถูกควบคุมตัว ธนาคารได้รับนาย ยี.เอช อาร์ดรอน (Mr. George Henry Ardron)

               ชาวอังกฤษมาช่วยปฏิบัติงานแทน หลังสงครามโลกสงบแล้ว จากที่มีการท าเหมืองแร่ดีบุกอยู่ในภาคใต้ของ
               ประเทศไทยเป็นอันมาก นอกจากนี้กิจการสวนยางพาราก็มีการด าเนินงานที่ภาคใต้กว้างขวางขึ้น ธนาคารจึงได้

               ตัดสินใจเปิดสาขาขึ้นที่ อ าเภอทุ่งสง ชุมทางรถไฟสายใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช ใน พ.ศ. 2463 ต่อมาอีก 7 ปี
               เมื่อพิจารณาเห็นว่า ในภาคเหนือของประเทศ กิจการป่าไม้ที่ชาวอังกฤษด าเนินการอยู่มีกิจการอย่างอื่นที่

               ต่อเนื่องกัน เช่น โรงเลื่อยเป็นจ านวนมาก จึงได้เปิดสาขาขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และเมื่อพบว่ากิจการผลิตใบ

               ยาสูบซึ่งเกี่ยวข้องกับโรงบ่มเป็นจ านวนมากในภาคเหนือเป็นธุรกิจที่ส าคัญ จึงพิจารณาเปิดสาขาขึ้นที่จังหวัด
               ล าปาง ใน พ.ศ. 2473 นับได้ว่า แบงก์สยามกัมมาจล ทุนจ ากัดได้น าระบบธนาคารสาขาเข้ามาใช้ในประเทศ

                                                          9-19
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25