Page 19 - เนอหา1.7.2_Neat
P. 19
16
3.องค์ประกอบของสถาบันการเมืองการปกครอง
1.องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ คือ องค์กรที่ท าหน้าที่ออกกฎหมายนั่นคือ สภานิติบัญญัติ
2.บุคลากรฝ่ายบริหาร คือ องค์กรที่ท าหน้าที่บริหารและบริการแก่สมาชิกใน
ส่วนรวม
3.บทบาทหน้าที่ฝ่ายตุลาการ คือ องค์ที่ท าหน้าที่ตีความตามกฎหมายในกรณีสมาชิก
ในสังคมเกิดความขัดแย้งระหว่างกัน
4.บุคลากรการปกครองฝ่ายองค์กรอิสระ คือ องค์กรที่ประกอบด้วยคณะบุคลที่ตั่ง
ขึ้นด้วยวิธีการปลอดอ านาจจากอิทธิพลของบุคคลที่อาจมีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจกรรมอันเป็นหน้าที่
ขององค์กรอิสระ
4.บทบาทและหน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง
1.สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ในสังคม เข้าไปมีส่วนร่วมในการดูแลสถาบันอื่นๆ
2.วินิจฉัยข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิกในสังคม มีองค์กรตุลาการคอยให้ความยุติธรรม
แก่สมาชิก
3.ท าหน้าที่ในการบริหารองค์กรของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4.ท าหน้าที่ป้องกันและรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ
5.เพื่อคุ้มครองบุคคลให้ปรอดภัย พ้นจากการละทิ้งใดๆ และได้รับหลักประกันใน
สิทธิเสรีภาพ
6.เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย ส่งเสริมความมั่นคงและสวัสดิการทางสังคม บัญญัติ
กฎหมายขึ้นแล้วบังคับให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย
7.รักษาความเป็นเอกราช ความมั่นคงปลอดภัยของชาติ ท าให้ประชาชนได้มีชีวิต
อยู่อย่างอิสระและมีความภาคภูมิใจในอิสรภาพอธิปไตยของรัฐที่ตนเป็นสมาชิก
8.รักษาความสงบและความเรียบรอยของเมือง
9.ด าเนินต่อสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ
10.การจัดการด้านธุรกิจรัฐจะต้องเข้าไปเพื่อด าเนินการเกี่ยวกับการค้า
1.6.5.สถาบันสื่อสารมวลชล
1.ความหมายนของสถาบันการสื่อสารมวลชล
สถาบันหมายถึง สิ่งที่คนในสังคมจัดตั่งขึ้นมาเพราะเห็นประโยชน์ว่ามีความต้องการและ
จ าเป็นต่อวิธีชีวิตของตน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา เป็นต้น
สื่อสารมวลชล หมายถึง สื่อที่สามารถกระจายข่าวสารจากบุคคลหนึ่งองร์กรหนึ่งไปยัง
มวลชลจ านวนมากโดยเฉพาะประชาชนในประเทศในเวลาอันลวดเร็ว เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรศัพน์
ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น