Page 41 - เนอหา1.7.2_Neat
P. 41

1.ประเพณีส่วนบุคคล                                                                            38


                       1. ประเพณีการเกิด การเกิดเป็นเรื่องที่สังคมไทยให้ความส าคัญจุดประสงค์

        ของการท าพิธีเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดระหว่างการตั้งครรภ์และไม่เป็นอันตรายต่อผู้

        ตั้งครรภ์หน้าคุ้มครองปกปักรักษาทารกให้คลอดออกมาโดยปลอดภัยเนื่องจากในระยะนี้

        ทารกมีร่างกายบอกกลางคลองแปลความต้านทานโรคต่ า

                      แต่เดิมมีความเชื่อว่าการท าพิธีเกิดจะช่วยป้องกันกระเป๋าผีร้ายที่จะมาท า

        อันตรายแก่ทารกและแม่ เพราะวิทยาการต่างๆในสมัยนั้นยังไม่เจริญคนจริงไปเชื่อในสิ่งลี้ลับ

        เช่นชื่อว่าผีบันดาลให้เป็นเช่นนั้นขอมาเมื่อมนุษย์เจริญขึ้นพอจะเข้าใจถึงความเป็นไปต่างๆ

        ความเชื่อในเรื่องผีค่อยๆหมดไปแต่ชนบางกลุ่มยังนิยมปฏิบัติ

                      วิธีการเกิดนี้จึงเป็นข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติของหญิงที่ก าลังจะเป็นแม่คนเริ่ม

        ตั้งครรภ์  เจ็บท้อง พอหลังคลอด ก็ต้องมีพิธีตัดสายสะดือ อาบน้ า ฝังรกเด็ก โดยเฉพาะใน

        สมัยโบราณการแพทย์ยังไม่เจริญก้าวหน้ายางปัจจุบันอัตรา การเสียชีวิตของทารกอยู่ใน

        ระดับสูงคนสมัยก่อนบางกลุ่มเชื่อว่าผีมาพาตัวเด็กไปพ่อแม่จึงต้องท าบุญเด็กเป็นระยะๆตาม

        วัยเช่นท าขวัญโกนผมไฟพิธีลงอู่ตั้งชื่อค าขวัญเด็ก  ปู่เปลเด็กโกนจุก(ถ้าไว้จุก)

                       2. ประเพณีการบวช หมายถึงการบวชเป็นพระภิกษุสามเณรในพระศาสนา

        ประเพณีการบวชนี้ได้เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาลต่อมาได้แพร่กระจายเข้ามายังสังคมไทย

        พร้อมกับการเข้ามาทางพุทธศาสนาคนไทยถือว่าการบวชได้บุญกุศลมากผู้หมวดได้ชื่อว่าเป็น

        ญาติกับพุทธศาสนาและได้ศึกษาวิชาทางพุทธศาสนาเป็นผู้มีความรู้สังคมถือว่าได้สร้างกุศล

        ให้แก่บิดามารดาเป็นผู้ตอบแทนคุณพ่อแม่สมัยก่อนมีความเชื่อว่าลูกชายที่ได้บวชเรียนจะ

        สามารถช่วยให้มารดาเกาะชายผ้าเหลืองขึ้นสวรรค์โดยมีประเพณีปฏิบัติคือเมื่อน่าจะเข้าไป

        ในโบสถ์ผู้เป็นมารดาจะเกาะหางนาคเข้าไปด้วยโดยเชื่อว่าเป็นการเกาะช้างหน้าขึ้นสวรรค์อีก

        นัยหนึ่งเชื่อว่าเป็นผู้ได้บวชแล้วได้ศึกษาเล่าเรียนได้รับการปลูกฝังศีลธรรมอันดีงามแล้วมึง

        เป็นผู้ได้รับการยอมรับนับถือจากสังคม

                      เด็กชายอัดบวชเณรก่อนเมื่ออายุครบ 7 ขวบหลังจากนั้นเมื่ออายุครบ 20 ปี

        บริบูรณ์แล้วจึงบวชพระการบวชพระมักจัดงานกันอย่างครึกครื้นมีพิธีกรรมประกอบหลาย

        อย่างเช่นพิธีน าบุตรชายไปฝากพระอาจารย์ที่วัดผู้ป่วยที่มีดามารดาน าไปฝากวัดเรียกว่านาค

        สมัยก่อนนิยมการบวชครบพรรษาศึกษาเล่าเรียนพรรษาเมื่อออกพรรษาแล้วก็มักจะฝึกแต่

        ปัจจุบันชาวไทยนิยมบวชตามประเพณีเพียงระยะ 7 - 15 - 30 วัน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46