Page 43 - เนอหา1.7.2_Neat
P. 43

40
          4.  พิธีการเผาศพ การตายเป็นที่สุดของชีวิตคนตายไปแล้วก็ไม่สามารถท าอะไรได้อีกไม่

        ตกเป็นภาระตอนคนที่อยู่เบื้องหลังที่จะต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการให้เป็นไปตามประเพณี

        ประเพณีไทยแต่ดั้งเดิมมานั้นเมื่อคนไข้หมดลมหายใจไปแล้วก็จะจุดเทียนประจ าชีวิตที่เคย

        จุดให้ในวันหน้าเกิดไว้ข้างๆเตียงไอ้แปะนี้รบกวนให้ตายก่อนไฟดวงนั้นจะดับไปซึ่งแสดงว่า

        ได้เสียชีวิตลงแล้วอย่างแน่นอนก็จะเผาหรือใช้ส าลีชุบน้ าอุ่นเช็ดถูและรักเส้นเอ็นที่มีสภาพ

        ศพที่น่าดูแล้วจัดดอกไม้ธูปเทียนอย่างละ 1 ดอกรับดอกไม้ 1 กระทงซึ่งเรียกกันว่าเชียงราย

        ไปไปบอกลาผู้ที่นับถือแม่บอกเวลารดน้ าศพให้ญาติพี่น้องและเพื่อนสนิท

                      การอาบน้ าศพคือหยดน้ าที่หมู่ผู้ตายต่อจากการอาบน้ าแล้วก็น าศพโรงหีบ

        (โลง)ตั้งศพไว้ในบ้านเพื่อความสะดวกแก่การท าบุญให้ท่านต่อหน้าศพไปจนถึงวันเผาศพ

        และอาบน้ าตกไปตั้งไว้ที่วัดการตั้งศพบ าเพ็ญกุศลนี้จะตั้งไว้ไม่เกิน 3 วันก็จะน าศพไปฝังหรือ

        เผาที่วัดคัมภีร์



























          2. ประเพณีส่วนรวม(ประเพณีหลัก)



        ประเพณีส่วนรวมหรือประเพณีเกี่ยวกับสังคมคือประเพณีผู้หญิงทุกคนส่วนใหญ่ในสังคมถือ
        ปฏิบัติได้แก่ประเพณีท าบุญขึ้นบ้านใหม่ประเพณีสงกรานต์ประเพณีวันส าคัญทางศาสนาเป็น


        ต้น
                      1.ประเพณีสงกรานต์  เป็นประเพณีที่ก าเนิดจากประเพณีของชาวอินเดียเป็น


        ประเพณีเฉลิมฉลองการเริ่มต้นปีใหม่เมืองไทยเราใช้กันมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีวัน
        เริ่มต้นปีใหม่คือวันที่ 13 เมษายน ของทุกปีซึ่งถือปฏิบัติสืบมาจนถึงพ.ศ 2483  หลังจากรัฐบาล


        ได้ก าหนดวันที่ 1 มกราคมเป็นวันขึ้นปีใหม่ในเทศกาลสงกรานต์จะมีการท าบุญตักบาตรการ
        ปล่อยนกปล่อยปลาสรงน้ า พระพุทธรูปพระสงฆ์รดน้ําด าหัวผู้ใหญ่การเล่นสาดน้ าและการเล่น


        กีฬาพื้นบ้านเป็นต้น
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48