Page 49 - สรปสาระสำคญ-แรงบนดาลใจแหงชวต_Neat
P. 49
สรุป ทฤษฎีสงั คมเชิงการรู้คิดของอตั เบิร์ต แบนดรู า อธิบายว่าบคุ ลิกภาพ
เป็ นผลของปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างตวั บุคคล ส่ิงแวดล้อมและพฤติกรรม เขาเน้นว่าตวั
แบบเป็ นตัวที่ส่งเสริมแรงที่มีอิทธิพลมากต่อการทาให้บุคคลเกิดความตัง้ ใจใน
การรับรู้ จากนัน้ จึงบันทึกสัญลักษณ์หรือการจัดระบบการรู้ การคิด การทบทวน
ตวั แบบแล้วจงึ ตามด้วยพฤตกิ รรมการตอบสนองหรือการแสดงออก ซงึ่ ส่งิ ที่เรียนรู้แล้ว
อาจจะแสดงออกหรือไม่แสดงออกก็ได้ อาจจะมีแนวโน้มในการแสดงออกซา้ เมื่อผล
ของการกระทานนั้ เป็ นด้านบวก และไม่มีการแสดงออกอีกเม่ือผลของการกระทานนั้
เป็ นด้านลบ
4.3 แนวคดิ และทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์
4.3.1 ทฤษฎีความคดิ สร้างสรรค์ (รีวฒั น์ เมืองสรุ ิยา)
Davis (1983) ได้รวบรวมแนวคิดเกี่ยวกบั ความคิดสร้างสรรค์ของ
นกั จิตวิทยาท่ีได้กล่าวถึงทฤษฎีของความคิดสร้างสรรค์ โดยแบ่งเป็ นกล่มุ ใหญ่ๆ ได้
4 กลมุ่ คือ
4.3.1.1 ทฤษฎีความคิดสร้ างสรรค์เชิงจิตวิเคราะห์ นกั จิตวิทยา
ทางจิตวิเคราะห์หลายคนเช่น Freud และ Kris ได้เสนอแนวคิดเก่ียวกับการเกิด
ความคิดสร้ างสรรค์ว่า ความคิดสร้ างสรรค์เป็ นผลมาจากความขัดแย้งภายใน
จิตใต้สานกึ ระหว่างแรงขบั ทางเพศ (Libido) กบั ความรู้สกึ ผิดชอบทางสงั คม (Social
Conscience) ส่วน Kubie และ Rugg ซ่ึงเป็ นนักจิตวิเคราะห์แนวใหม่กล่าวว่า
ความคดิ สร้างสรรคน์ นั้ เกิดขนึ ้ ระหวา่ งการรู้สตกิ บั จิตใต้สานกึ ซงึ่ อยใู่ นขอบเขตของจิต
สว่ นท่ีเรียกวา่ จติ กอ่ นสานกึ
4.3.1.2 ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์เชิงพฤติกรรมนิยม นกั จิตวิทยา
กลุ่มนีม้ ีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องความคิดสร้ างสรรค์ว่าเป็ นพฤติกรรมท่ีเกิด
การเรียนรู้ โดยเน้นที่ความสาคญั ของการเสริมแรงการตอบสนองที่ถกู ต้องกับสิ่งเร้ า
เฉพาะหรือสถานการณ์ นอกจากนีย้ งั ได้เน้นความสมั พันธ์ทางปัญญา คือการโยง
ความสมั พนั ธ์จากสิง่ เร้าหนงึ่ ไปยงั ส่ิงตา่ งๆ ทาให้เกิดความคดิ ใหมห่ รือสง่ิ ใหมเ่ กิดขนึ ้
44 I GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวิต