Page 46 - สรปสาระสำคญ-แรงบนดาลใจแหงชวต_Neat
P. 46
2) การปรับตัว คือการปรับตัวให้เข้ากับส่ิงแวดล้ อม
เพ่ือให้อยู่ในสภาพที่มีความสมดุล การปรับตัวนัน้ ประกอบด้วย 2 ลักษณะ คือ
การซมึ ซบั หรือดดู ซมึ และการปรับโครงสร้างทางปัญญา
4.1.1.3 ทฤษฎีการเรี ยนรู้ โดยการพบของ Bruner ได้ เน้ น
การพฒั นาเก่ียวกบั ความสามารถในการรับรู้และความเข้าใจ บคุ คลแตล่ ะคนมีการ
พฒั นาความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คดิ โดยผา่ นขบวนการที่เกิดขนึ ้ ตลอดชว่ งชีวิตของ
คนเรา
4.1.1.4 ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ Ausubel
เป็ นทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมที่เน้นความสาคัญในการจัดเรียบเรียงความรู้อย่างมี
ระบบ และการเกิดความคดิ รวบยอดใหม่
4.1.1.5 ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ เป็ นทฤษฎีการเรียนรู้
ที่ใหม่และกาลังได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เน่ืองจากเป็ นทฤษฎีท่ีมุ่งเน้น
ลกั ษณะเฉพาะตวั ของบคุ คลกบั ข้อมลู และสิ่งที่อยใู่ นกระบวนการการเรียนรู้ โดยเน้นที่
กระบวนการการคิด ความจาระยะยาว และการเรียกข้อมูล ที่ได้เรียนรู้แล้วและเก็บ
อย่ใู นความทรงจาระยะยาวและสามารถนากลบั มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทงั้ นี ้
มีงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกบั การศกึ ษาในทฤษฎีนี ้ได้แก่ การรับรู้ การใส่ใจ ความจา และ
ความเข้าใจ
4.1.2 ทฤษฎีการรู้คดิ ตามแนวคดิ ของตนเอง
หรือทฤษฎีรู้คิดของ Meta Cognition เป็ นทฤษฎีท่ีสืบเนื่องมาจาก
นักจิตวิทยากลุ่มพุทธปัญญานิยม และบุคคลสาคญั ท่านหน่ึง คือ Flavell ที่เชื่อว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ คือเป็ นผู้ควบคมุ กิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง
ดงั นี ้
4.1.2.1 อภิปัญญา คือ การควบคมุ และประเมินความคิดตนเอง
ความสามารถของบุคคลที่ได้รับการพฒั นาเพื่อควบคมุ กากับกระบวนการทางปัญญา
และกระบวนการคิด มีความตระหนักในงานและสามารถใช้ยุทธวิธีวิธีการทางาน
จนสาเร็จได้อยา่ งสมบรู ณ์
GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวติ I 41