Page 10 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 10

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของประชากรก่อนวัยสูงอายุ
           ง�นวิจัย     อ�าเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี



                           เครื่องมือที่ใช้                             ผลกำรวิจัย

                     เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้   1.จากการศึกษาพบว่าเป็นเพศหญิงร้อยละ
            ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ประชากรก่อนวัยสูงอายุ 50 – 59  57.8 อายุเฉลี่ย 54.63 ปี การศึกษาสูงสุดระดับประถม
            ปี ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล  ศึกษาร้อยละ  69.2  สถานภาพสมรสคู่ร้อยละ
            จ�านวน 9 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา  83.1ประกอบอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 63.9 มีราย
            สถานภาพสมรส อาชีพ รายได้ ความพอเพียงของราย ได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,930 บาทกลุ่มตัวอย่างเกินกว่า
            ได้ รูปแบบการอยู่อาศัย และโรคประจ�าตัว ส่วนที่ 2  ครึ่งหนึ่งมีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาทซึ่งไม่พอเพียง
            ข้อมูลด้านครอบครัว จ�านวน 6 ข้อ ประกอบด้วย  กับค่าใช้จ่ายถึงร้อยละ 64.4 ในส่วนของรูปแบบการ
            ลักษณะของครอบครัว รายได้ของครอบครัว หนี้สิน อยู่อาศัย พบว่าอาศัยอยู่กับครอบครัว/บุตร/หลาน
            ของครอบครัว จ�านวนสมาชิกในครอบครัวลักษณะ ร้อยละ 90.6 กลุ่มตัวอย่างมีโรคประจ�าตัวร้อยละ 51.7
            บ้านและระยะเวลาที่ครอบครัวอาศัยอยู่ในชุมชน ส่วน โรคประจ�าตัวที่พบมากที่สุด คือโรคความดันโลหิตสูง
            ที่ 3 ข้อมูลด้านชุมชน/สังคม จ�านวน 6 ข้อ ประกอบ      2.ลักษณะครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างพบ
            ด้วยสวัสดิการชุมชน/กองทุนหมู่บ้าน งบประมาณ การ  ว่าเกินกว่าครึ่งหนึ่งมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวร้อย
            ส่งเสริมอาชีพ การจัดบริการสุขภาพ การจัดกิจกรรม  ละ  85.0  รายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน
            นันทนาการ และการจัดเครื่องอ�านวยความสะดวก   13,748.33 บาท โดยรายได้ของครอบครัวต�่ากว่า
            และส่วนที่ 4 การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ  5,000 บาทร้อยละ 33.9 และครัวเรือนมีหนี้สินร้อย
            จ�านวน 40 ข้อ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจ จ�านวน               ละ 12.5 จ�านวนสมาชิกในครอบครัว ที่อาศัยอยู่ด้วย
            12 ข้อ 2) ด้านสุขภาพ จ�านวน 14 ข้อ 3) ด้านที่อยู่  กันในปัจจุบัน จ�านวนระหว่าง 3-4 คนร้อยละ 52.2
            อาศัย จ�านวน 5 ข้อ และ 4) ด้านสังคม จ�านวน 9 ข้อ   ลักษณะบ้านเป็นบ้านเดี่ยวร้อยละ 98.3 ระยะเวลาที่
            ลักษณะค�าถามแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ 1) เตรียมความ  ครอบครัวอาศัยอยู่ในชุมชนตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไปร้อยละ
            พร้อม 2) ไม่ได้เตรียมความพร้อม ตรวจสอบคุณภาพ  47.5 รองลงมา คือ อาศัยอยู่ระหว่าง 30 – 39 ปีร้อย
            ของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ�านวน 3 ท่าน และ  ละ 22.3 ระยะเวลาเฉลี่ยที่ครอบครัวอาศัยอยู่ในชุมชน
            ทดลองใช้แบบสัมภาษณ์กับประชากรอายุ 50 – 59   36.50 ปี
            ปี ในพื้นที่อ�าเภอใกล้เคียง จ�านวน 30 คน วิเคราะห์
            ความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการหาความสอดคล้อง     3.ชุมชนมีสวัสดิการชุมชน/กองทุนหมู่บ้าน
            ภายในด้วยสูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอบบาช    ร้อยละ 72.5 และไม่มีสวัสดิการชุมชน/กองทุนหมู่บ้าน
            (Cronbach’s alpha) มีค่าเท่ากับ 0.826       ร้อยละ 27.5 การสนับสนุนด้านการเงินให้กับผู้สูงอายุ
                                                        เกินครึ่งหนึ่งไม่มีการสนับสนุนงบประมาณ ส่วนการ
                     วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูป   ส่งเสริมอาชีพ พบว่า ไม่มีการส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ
            ปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัวและปัจจัย  63.1 มีการส่งเสริมอาชีพร้อยละ 36.9 มีการจัดบริการ
            ระดับชุมชน/สังคม ใช้สถิติแจกแจงค่าความถี่ร้อยละ   สุขภาพในชุมชนร้อยละ 80.6 ส่วนใหญ่เป็นการจัด
            ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่าง  บริการสุขภาพในด้านบริการตรวจสุขภาพร้อยละ 36.6
            ปัจจัยระดับบุคคล ระดับครอบครัว และระดับชุมชน/  กิจกรรมนันทนาการ มีกิจกรรมออกก�าลังกายร้อยละ
            สังคม กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุโดยใช้  60.8 ในส่วนของการจัดเครื่องอ�านวยความสะดวก
            สถิติการวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-square Test)    ของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนใหญ่มีทางลาดเอียงพร้อม

                                                        ราวบันไดมีรถเข็นไว้บริการผู้สูงอายุ มีห้องน�้าส�าหรับ

           8
                   วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15