Page 11 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 11

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของประชากรก่อนวัยสูงอายุ
                                                                  อ�าเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี  ง�นวิจัย



            ผู้สูงอายุ  และมีช่องทางบริการเฉพาะผู้สูงอายุ            5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับ
            ร้อยละ 29.0                                 บุคคลกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ พบว่า
                     4.การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของ  ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และโรคประจ�าตัว
            ประชากรก่อนวัยสูงอายุภาพรวม พบว่า กลุ่มตัวอย่าง  มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูง
            มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุร้อยละ 84.4   อายุอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p = 0.007, p = 0.012
            ไม่มีการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุร้อยละ 15.6   และ p = 0.040 ตามล�าดับ) ดังตารางที่ 1
            เมื่อพิจารณาถึงผลการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะการ             5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับ
            เตรียมความพร้อมภาพรวม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี  ครอบครัวกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ
            การเตรียมความพร้อมมากที่สุดในเรื่องของการยึดหลัก  พบว่ารายได้ของครอบครัว จ�านวนสมาชิกในครอบครัว
            ศาสนาในการด�าเนินชีวิตเพื่อให้สุขภาพจิตดีขึ้น                  และระยะเวลาที่ครอบครัวอาศัยอยู่ในชุมชน มีความ
            (ร้อยละ 95.6) และไม่มีการเตรียมความพร้อมมาก  สัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุอย่าง
            ที่สุดในเรื่องการดื่มนมอย่างน้อยวันละ1 – 2 แก้ว   มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p = 0.000, p = 0.023 และ
            (ร้อยละ 59.2)                               p = 0.026 ตามล�าดับ) ดังตารางที่ 2
                                                                    5.3 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับ
                     5.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียม  ชุมชน/สังคมกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ
            ความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุได้ก�าหนดนัยส�าคัญทาง  พบว่าการจัดกิจกรรมนันทนาการ มีความสัมพันธ์กับ
            สถิติ  p < 0.05 พบผลการศึกษา ดังนี้         การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีนัยส�าคัญ

                                                        ทางสถิติ (p = 0.000) ดังตารางที่ 3


               ตำรำงที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับบุคคลกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ (n =360)

                                         ไม่มีการเตรียมความ  มีการเตรียมความ
                   ปัจจัยระดับบุคคล      พร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ พร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ  X 2  p-value
                                          จำานวน (ร้อยละ)    จำานวน (ร้อยละ)

             1.เพศ

                  ชาย                             27(17.8)         125(82.2)    0.976       0.323
                  หญิง                            29(13.9)         179(86.1)
             2.อายุ

                  50-54 ปี                        24(13.9)         149(86.1)    0.718       0.397
                  55-59 ปี                        32(17.1)         155(82.9)

             3.ระดับการศึกษา
                  ไม่ได้เรียน                     13(26.5)          36(73.5)    9.963      0.007*

                  ประถมศึกษา                      40(16.1)         209(83.9)
                  มัธยมศึกษาขึ้นไป                  3(4.8)          59(95.2)

                                                                                                9
                                                                วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16