Page 16 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 16

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของประชากรก่อนวัยสูงอายุ
           ง�นวิจัย       อ�าเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี



            ออกก�าลังกาย การทัศนศึกษา เป็นต้น สอดคล้องกับ       2.ส่งเสริมให้ประชากรก่อนวัยสูงอายุตรวจ
            การศึกษาของ ลีลาวดี อัครเศรณี (2549) ที่ศึกษา สุขภาพประจ�าปีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และตรวจ
            การเตรียมการเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุของประชาชนต�าบล สุขภาพช่องปากและฟันกับทันตแพทย์หรือทันตาภิ
            ไร่ขิง อ�าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ที่พบว่า บาลทุกปี ประชากรก่อนวัยสูงอายุควรดูแลสุขภาพ
            กิจกรรมนันทนาการ ได้แก่ การจัดกิจกรรมออกก�าลัง ตนเองเพื่อป้องกันไม่ให้ตนเองเจ็บป่วย เช่น การออก
            กาย การจัดการละเล่นพื้นบ้าน มีความสัมพันธ์กับ ก�าลังกายอย่างน้อยครั้งละ 30 นาที ดื่มนมอย่างน้อย
            การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ         วันละ 1 แก้ว

                           ข้อเสนอแนะ                           3.ควรปรับปรุงบ้านของตนเองให้มีความ

                    1.ควรส่งเสริมในเรื่องรายได้ของประชากร  มั่นคง แข็งแรง มีรั้วรอบขอบชิด เพื่อป้องกันโจรขโมย
            ก่อนวัยสูงอายุ ได้แก่ การฝึกอาชีพเสริม โดยเน้นหลัก  ทรัพย์สินมีค่า และควรส่งเสริมให้ประชากรก่อนวัยสูง
            ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรู้การประกอบ  อายุพูดคุยล่วงหน้ากับลูกหลาน เมื่อตนเองแก่เฒ่าว่า

            อาชีพที่ถูกต้อง                             ใครจะเป็นคนดูแล และส่งเสริมให้มีการติดตามข่าวสาร
                                                        ทางสังคม









              เอกส�รอ้�งอิง


             คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอ�าเภอหนองหญ้าไซ (2560). เอกสารประกอบการบรรยายสรุปการตรวจราชการและนิเทศงาน
                  กรณีปกติ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2560. สุพรรณบุรี: โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ.
             ธาดา วิมลวัตรเวที. (2542). สุขภาพผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒน์.
             นภาพร ชโยวรรณ. (2552). รายงานการศึกษาโครงการปรับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 – 2564. กรุงเทพฯ: วิทยาลัย
                  ประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
             ภาพตะวัน คัชมาตย์. (2539). ความพึงพอใจในชีวิตผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
             ลีลาวดี อัครเศรณี (2549). การเตรียมการเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุของประชาชนต�าบลไร่ขิง อ�าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์
                  ปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
             ละมัด เลิศล�้า. (2542). ความหวังของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยของแก่น
             ศิวพร ปกป้อง. (2553). เอกสารประกอบการเรียนสถานการณ์และแนวโน้มโครงสร้างประชากรและครอบครัวไทย. นครปฐม: สถาบันแห่ง
                  ชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล.
             สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). การวิเคราะห์สถานการณ์และศึกษานโยบาย มาตรการ ในการจัดระบบ
                  สวัสดิการสังคมที่จ�าเป็นส�าหรับครอบครัวผู้สูงอายุที่ประสบสภาวะยากล�าบาก. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง.
             สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. (2542). ปัญหาผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.








          14
                   วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21