Page 21 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 21

องค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน
                                                             โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�าบลบ้านท่าควาย  ง�นวิจัย



                         วิธีด�ำเนินกำรวิจัย                    การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
                                                        เพื่อบรรยายข้อมูล และศึกษาระดับในแต่ละตัวแปร
                    การศึกษาเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง (Cross   ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยง
            sectional descriptive study) มีวัตถุประสงค์เพื่อ  เบนมาตรฐาน จากวัตถุประสงค์การวิจัยตัวแปรต้น
            ศึกษาศึกษาระดับองค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัคร  เป็นข้อมูลประเภทต่อเนื่องและแจงนับ ในขณะที่
            สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มี  ตัวแปรตามมีระดับการวัดเป็นแบบประเภทต่อเนื่อง
            ผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุข  (Continuous outcome) และสถิติเชิงอ้างอิงวิเคราะห์
            ประจ�าหมู่บ้าน
                                                        ปัจจัยที่มีผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัคร
                    ประชากรและตัวอย่างในการศึกษา  คือ   สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน ด้วยสถิติถดถอยอย่างง่าย
            ประชากรที่เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน   (Simple Linear Regression Analysis)
            ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลบ้านท่าควาย                  ผลกำรวิจัย
            อ�าเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จ�านวน 79 คน
                                                                จากผลการศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของอาสา
                    เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้  สมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน พบว่า มีอายุเฉลี่ย
            เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 5 ส่วน คือ ส่วนที่ 1   42.93 (SD = 8.27) ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ�านวน
            ข้อมูลส่วนบุคคล จ�านวน 14 ข้อ ส่วนที่ 2 ด้านแรง  61 คน ร้อยละ 77.20 เพศชาย จ�านวน 18 คน ร้อย
            จูงใจในการปฏิบัติงานของอสม. จ�านวน 22 ข้อ และ  ละ 22.80 สถานภาพสมรสคู่ จ�านวน 66 คน ร้อยละ
            บรรยากาศในการปฏิบัติงานของอสม. จ�านวน 23 ข้อ   88.90 หม้าย/หย่า/แยก จ�านวน 9 คน ร้อยละ 11.40
            ส่วนที่ 3 องค์กรแห่งการเรียนรู้ จ�านวน 51 ข้อ ส�าหรับ  จ�านวน 4 คน ร้อยละ 5.10 และโสด จ�านวน 4 คน
            แบบสอบถามในส่วนที่ 2 และ 3 เป็นแบบมาตราส่วน  ร้อยละ 5.10 ระดับการศึกษาประถมศึกษา จ�านวน
            ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ก�าหนดเกณฑ์  33 คน            ร้อยละ 41.80 มัธยมศึกษาตอน
            ในการแปลความหมายโดยการจัดกลุ่มใช้เกณฑ์อิงกลุ่ม   ปลาย/ปวช.จ�านวน 22 คน ร้อยละ 27.80 มัธยมศึกษา
            แบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยใช้ค่าคะแนนสูงสุดลบด้วย  ตอนต้น จ�านวน 15 คน ร้อยละ 19.00 ปริญญาตรี
            ค่าคะแนนต�่าสุดและหารด้วยจ�านวนกลุ่มหรือระดับ   หรือสูงกว่า จ�านวน 6 คน ร้อยละ 7.60 และปวส./
            ได้แก่ สูง ปานกลาง และต�่า
                                                        อนุปริญญา จ�านวน 3 คน ร้อยละ 3.80 อาชีพ
                    การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือความตรง   เกษตรกรรม จ�านวน 50 คน ร้อยละ 63.30 รับจ้าง
            เชิงเนื้อหา (Content validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิจ�านวน   จ�านวน  12 คน ร้อยละ 15.20 ค้าขาย จ�านวน 9 คน
            3 ท่านเพื่อปรับปรุงแก้ไขก่อนน�าไปใช้มี ค่าดัชนีความ  ร้อยละ 11.40 และพ่อบ้าน/แม่บ้าน จ�านวน 6 คน
            สอดคล้อง (Item objective congruence : IOC) อยู่  ร้อยละ 7.60 ระยะเวลาในการท�างานเป็นอสม. เฉลี่ย
            ระหว่าง 0.67 – 1.00 และวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น   13.79 (SD = 8.40) ปี ครัวเรือนที่รับผิดชอบ เฉลี่ย
            (Reliability) โดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอ  9.40 (SD = 2.01) ส่วนใหญ่ไม่มีต�าแหน่งอื่นในสังคม
            นบราช (Cronbach’s Alpha Coefficient) ของทุก  จ�านวน 52 คน ร้อยละ 65.80 และมีต�าแหน่งอื่นใน
            ด้าน เท่ากับ 0.96 และแยกเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้าน  สังคม จ�านวน 27 คน ร้อยละ 34.20 วิธีการคัดเลือก
            แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของอสม. บรรยากาศในการ  เข้ามาเป็นอสม. สมัครขอเป็นด้วยตนเอง จ�านวน
            ปฏิบัติงานของอสม. และองค์กรแห่งการเรียนรู้ เท่ากับ   40 คน ร้อยละ 50.60 จ�านวน 25 คน ร้อยละ 31.60
            0.87, 0.88, และ 0.95 ตามล�าดับ


                                                                                               19
                                                                วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26