Page 24 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 24

องค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน
           ง�นวิจัย     โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�าบลบ้านท่าควาย



                                                      Mean Dif-
                               ปัจจัย                                 95% CI         p-value
                                                       ference
                การได้รับความรู้จากการประชุมอบรม         0.55       -0.19 ถึง 1.31    0.147
                (ครั้ง/ปี)

                การอ่านหนังสือวิชาการ/ค้นหาข้อมูลทาง    -0.29       -0.84 ถึง 0.26    0.297
                ด้านวิชาการใน 1 เดือน (ชั่วโมง/เดือน)

                การศึกษาดูงานทางด้านสาธารณสุข                                         0.913
                   ไม่เคย                                Ref.

                  เคย                                    0.58      -10.08 ถึง 11.25
                แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของอสม.           1.63       1.31 ถึง 1.94    > 0.001

                บรรยากาศในการปฏิบัติงานของอสม.           1.65       1.32 ถึง 1.98    > 0.001

                    จากตารางที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อองค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน
            พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของอสม. (0.41, 95%CI: 0.22 ถึง 0.61) และบรรยากาศในการปฏิบัติงาน
            ของอสม. (0.42, 95%CI: 0.21 ถึง 0.60) มีผลเชิงบวกกับองค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุข
            ประจ�าหมู่บ้าน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ .05


                            อภิปรำยผล                           ด้านองค์กร พบว่า อยู่ในระดับสูง (62.00%)
                                                        จากผลการศึกษา พบว่า อสม. รพ.สต. บ้านท่าควาย
                   จากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
            องค์กรแห่งการเรียนรู้ของอาสาสมัครสาธารณสุข  เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้มีส่วนร่วมในการจัดการ

            ประจ�าหมู่บ้าน พบว่า องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยรวม  กิจกรรม (x = 4.01) มีความเข้าใจวิธีการการมอบ
            อยู่ในระดับปานกลาง (63.30%) เมื่อจ�าแนกตามองค์  หมายหน้าที่ของชมรม อสม. รพ.สต.บ้านท่าควาย

            ประกอบรายด้านส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ส่ง  (x = 4.00) และมีการท�างานที่ความคล่องตัวและ

            ผลให้องค์กรแห่งการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่ง  ประสานงานกันสะดวก (x = 3.88) จากข้อค้นพบ
            สอดคล้องกับการศึกษาการเป็นองค์การแห่งการเรียน  ดังกล่าว ส่งผลให้ด้านองค์กรอยู่ในระดับสูง ซึ่ง
            รู้ตามการรับรู้ของบุคลกรส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด  สอดคล้องกับการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กร
            ขอนแก่น พบว่า ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียน  แห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาสังกัดส�านักงาน คณะ
            รู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง  และสอดคล้อง  กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สภาพการเป็น
                                        [9]
            กับการศึกษาปัจจัยภายในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อการ  องค์กรแห่งการเรียนรู้จากองค์ประกอบหลัก คือ ด้าน
                                                                         [6]
            เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้านครหลวง พบ  องค์กรอยู่ในระดับสูง  และสอดคล้องกับการศึกษา
            ว่า สภาพการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้า  ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับความ
                                                [10]
            นครหลวง โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง         เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาล
                                                        ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลรัฐ
                                                        กรุงเทพมหานคร พบว่า ความเป็นองค์การแห่งการ
                                                        เรียนรู้ด้านการองค์การอยู่ในระดับสูง [11]

          22
                   วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29