Page 7 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 7

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของประชากรก่อนวัยสูงอายุ
                                                                  อ�าเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี  ง�นวิจัย




                              บทน�ำ                             อ�าเภอหนองหญ้าไซจังหวัดสุพรรณบุรี จาก
                                                        ข้อมูลผู้สูงอายุ ปี 2560 พบประชากรวัยสูงอายุ 60
                    ผู้สูงอายุหรือคนชราตามค�าจ�ากัดความของ  ปีขึ้นไปมีจ�านวน 8,065 คน (20.92%) จากจ�านวน
            องค์การอนามัยโลก หมายถึง คนที่มีอายุ 60 ปี ขึ้น  ประชากรทั้งหมด 38,559 คนซึ่งปัญหาส�าคัญใน
            ไปทั้งเพศชายและเพศหญิง (สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูง  พื้นที่อ�าเภอหนองหญ้าไซที่ผู้สูงอายุมักประสบได้แก่
            อายุ, 2542) แนวโน้มและสถานการณ์โครงสร้าง    1) ปัญหาด้านสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
            ประชากรพบสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุโลกก�าลัง  ร่างกายที่เสื่อมถอยลงและการมีโรคภัยไข้เจ็บ จาก
            เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากปัจจุบันที่มีประชากรผู้สูงอายุ  ข้อมูลของส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอหนองหญ้าไซ
            ประมาณ 600 กว่าล้านคน ซึ่งคาดการณ์จะเพิ่มขึ้น  พบว่าผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อจ�านวน 4,129
            เป็น 1.2 พันล้านคน และ 2 พันล้านคน ในปี ค.ศ.   คน (51.20%) จากผู้สูงอายุจ�านวน 8,065 คน และ
            2020  และ  ค.ศ.  2050  ตามล�าดับส�าหรับใน   ข้อมูลจากการประเมินADL อ�าเภอหนองหญ้าไซพบ
            ประเทศไทย ข้อมูลผู้สูงอายุของสถาบันวิจัยประชากร  ว่ามีผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่สามารถช่วยเหลือตนเอง
            และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2557 พบประชากร  ได้ดี จ�านวน 6,799 คน (84.30%) กลุ่มติดบ้านที่
            วัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จ�านวน 9,928,000 คน   ช่วยเหลือตนเองได้บ้างจ�านวน 147 คน (1.82%)
            (15.30%) จากจ�านวนประชากรทั้งหมด 64,871,000   กลุ่มติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้จ�านวน
            คน (สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัย    48 คน (0.60%) 2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจผู้สูงอายุ
            มหิดล, 2556) มีการคาดการณ์ว่าประชากรวัยสูงอายุ  เนื่องจากผู้สูงอายุไม่ได้ท�างานท�าให้ขาดรายได้จาก
            จะมีจ�านวนเพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจ�านวนผู้สูงอายุในปี   ข้อมูลความจ�าเป็นขั้นพื้นฐานปี พ.ศ. 2560 ของอ�าเภอ
            2563 จะมีจ�านวน 10,954,000 คน (ศิวพร ปกป้อง,   หนองหญ้าไซพบว่ามีผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้จ�านวน 326
            2553) จากการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว  คน (4.04%)  3) ปัญหาด้านจิตใจและความรู้สึกนึกคิด
            ส่งผลกระทบท�าให้เกิดปัญหาต่างๆโดยเฉพาะอย่าง  รูปแบบดั้งเดิมของชีวิตครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลง
            ยิ่งบุคคลที่ก�าลังเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจะต้องประสบกับ  จากครอบครัวขยายเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยวสูงขึ้น
            สภาพการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลง    (คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอ�าเภอหนอง
            ทางด้านร่างกายที่เสื่อมโทรมตามธรรมชาติ และจิตใจ  หญ้าไซ, 2560)
            ที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของร่างกาย จากการ
            เปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ย่อมมีผลต่อการปรับเปลี่ยน     จากแนวโน้มของผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นและ
            สถานภาพและบทบาทใหม่ของผู้สูงอายุในสังคมด้วย  สภาพปัญหาที่กล่าวมานั้นหากพิจารณาโดยภาพรวม
            เช่น การขาดรายได้จากการท�างาน ท้อแท้ เกิดความ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุจึงมีความส�าคัญ
            เหงา ความกังวลที่ถือว่าตนเองอยู่ในช่วงบั้นปลายชีวิต  อย่าง ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจท�าการศึกษาการเตรียม
            ดังนั้นแนวทางที่ดีที่สุดในการป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้น ความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของประชากรก่อนวัยสูงอายุ
            เหล่านี้ก็คือ การให้บุคคลได้มีการ เตรียมความพร้อม ผลการวิจัยครั้งนี้ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ
            ในการเข้าสู่วัยสูงอายุ ไว้ล่วงหน้าจะได้ปรับตัวใช้ชีวิต หนองหญ้าไซจะสามารถใช้เป็นข้อมูลในการก�าหนด

            ได้ง่ายขึ้น                                 นโยบายและก�าหนดแผนในการปฏิบัติงานที่ตอบสนอง






                                                                                                5
                                                                วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12