Page 27 - แผนปฏิบัติราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี ระยะที่ 2
P. 27
๔. การจัดการความเสี่ยง
เป็นการกาหนดแนวทางตอบสนองความเสี่ยง ซึ่งมีหลายวิธีและสามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม กบั สถานการณ์ ขนึ้ อยกู่ บั ดลุ ยพนิ จิ ของผรู้ บั ผดิ ชอบ แตท่ งั้ นวี้ ธิ กี ารจดั การความเสยี่ งตอ้ งคมุ้ คา่ กบั การลดระดบั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ จากความเสยี่ งนนั้ โดยทางเลอื กหรอื วธิ จี ดั การความเสย่ี ง ประกอบดว้ ย ๔ แนวทางหลกั คอื
๑) การยอมรบั (Take) หมายถงึ การทคี่ วามเสยี่ งนนั้ สามารถยอมรบั ไดภ้ ายใตก้ ารควบคมุ ที่มีอยู่ ซึ่งไม่ต้องดาเนินการใด ๆ เช่น กรณีท่ีมีความเส่ียงในระดับไม่รุนแรงและไม่คุ้มค่าท่ีจะดาเนินการใด ๆ ใหข้ ออนมุ ตั หิ ลกั การรบั ความเสย่ี งไว้ และไมด่ า เนนิ การใด ๆ แตค่ วรมมี าตรการตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ดิ เพอื่ รองรบั ผลที่จะเกิดขึ้น
๒) การลดหรือควบคุมความเสี่ยง (Treat) หมายถึง ลดโอกาสที่จะเกิดขึ้น หรือลด ความเสียหาย โดยการจัดระบบการควบคุม หรือเปลี่ยนแปลงข้ันตอนบางส่วนของกิจกรรมหรือโครงการ ที่นาไปสู่เหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง เพ่ือให้มีการควบคุมที่เพียงพอเหมาะสม เช่น การปรับปรุงกระบวนการ ดาเนินงาน การจัดอบรมเพิ่มทักษะในการทางานให้กับพนักงาน และการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน เป็นต้น
๓) การหยุดหรือหลีกเล่ียงความเส่ียง (Terminate) หมายถึง ความเสี่ยงท่ีไม่สามารถ ยอมรับและต้องจัดการให้ความเสี่ยงนั้นไปอยู่นอกเง่ือนไขการดาเนินงาน โดยมีวิธีจัดการความเสี่ยงในกลุ่มน้ี เช่น การหยุดหรือยกเลิกการดาเนินงานหรือกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดความเสี่ยงนั้น
๔) การถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) หมายถึง ความเสี่ยงที่สามารถโอนไปให้ผู้อื่นได้ เชน่ การทา ประกนั ภยั /ประกนั ทรพั ยส์ นิ กบั บรษิ ทั ประกนั การจา้ งบคุ คลภายนอกหรอื การจา้ งบรษิ ทั ภายนอก มาจัดการในงานบางอย่างแทน เช่น งานรักษาความปลอดภัย เป็นต้น
เมื่อเลือกมาตรการหรือวิธีการที่เหมาะสมท่ีใช้จัดการความเส่ียงแล้ว ต้องมีการจัดทา แผนบรหิ ารความเสยี่ งเพอื่ กา หนดมาตรการหรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารในการจดั การและควบคมุ ความเสยี่ งสงู (High) และสูงมาก (Extreme) นั้นให้ลดลง ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ สามารถปฏิบัติได้จริง
กํารวิเครําะห์สภําพแวดล้อมองค์กร
สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กรเพื่อนาไปสู่ การกาหนดประเด็นกรอบแนวทาง เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติราชการสานักงาน ปลดั สา นกั นายกรฐั มนตรี ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) โดยไดข้ อ้ มลู จากแบบสอบถามผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี (Stakeholders) ของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารในสานักงาน ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ร่วมกับการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์องค์กร ผ่าน ๒ เครื่องมือสาคัญ คือ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร โดยใช้ McKinsey 7S Framework และการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร โดยใช้ PESTEL Analysis เพื่อกาหนดกรอบแนวทางการขับเคลื่อน และเป้าประสงค์ โดยมีสรุปสาระสาคัญดังน้ี
แผนปฏิบัติราชการสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
16