Page 133 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 133

   1.4 คติควํามเชื่อภําพปริศนําธรรม
ปฏจิ จสมปุ บําท เปน็ สภาวะใหเ้ กดิ ทกุ ข์ หรอื สมทุ ยวารมอี ยสู่ บิ สองอยา่ ง เรม่ิ ตงั้ แต่ เพราะอวชิ ชาเปน็ ปจั จยั
จึงมีสังขาร เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัยจึงมีนามรูปเพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬาย ตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัยจึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงมีตัณหา เพราะ ตัณหาเป็นปัจจัยจึงมีอุปาทาน เพราะอุปทานเป็นปัจจัยจึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัยจึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัยจึงมีชรา มรณะ โลกะปริเทวะทุกขะโทมนัส และอุปยาส โดยสรุปก็คือ ความทุกข์ อันนี้ คือ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นสภาวะให้เกิดทุกข์
ภําพวัฏฏสงสําร สอดคล้องกับคติความเชื่อของอกุศลกรรม กรรมช่ัว – กรรมดา ท่ีกระทาได้ สามทางคือ 1) กํายอกุศลกรรม หมายถึง การกระทาความช่ัวทางกาย ที่ไม่ถูกต้อง เช่น เบียดเบียนผู้อ่ืน ประทุษร้าย
ชีวิตของผู้อื่น กระทาอบายมุขต่างๆ เกียจคร้านทาการงาน เป็นต้น ถือว่าเป็นกรรมดาในร่างกาย
2) วจีอกุศลกรรม หมายถึง การกระทาความช่ัวทางวาจา เป็นการใช้คาพูดไม่ถูกต้อง เช่น ประทุษร้าย
ด้วยคาพูด ส่อเสียด พูดคาหยาบ เพ้อเจ้อ พูดเท็จ เป็นต้น
3) มโนอกุศลกรรม หมายถึง การกระทาความช่ัวในทางจิตใจ เป็นความคิดท่ีไม่ถูกต้อง เช่น คิดพยาบาท
คิดอิจฉาริษยาคนอื่น คิดเบียดเบียนคนอ่ืน เป็นต้น
บ่วงท่ีแขน บ่วงท่ีข้อมือ
บ่วงท่ีขา
   พญามารแขวนบ่วงท่ีข้อมือ ท่ีแขน และท่ีเท้า
  123
          





















































































   131   132   133   134   135