Page 15 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 15
1.2 ลัทธิควํามเชื่อ
ลัทธิ หมายถึง ความเชื่อหลักการทางปรัชญา วิถีชีวิตอันเกี่ยวข้องกับศาสนา ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติตาม
ลทั ธนิ กิ าย อนั เปน็ เรอื่ งเฉพาะกลมุ่ เฉพาะเผา่ และเปน็ วถิ ชี วี ติ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งนโยบายทางการเมอื ง ซงึ่ เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ ตามความเชื่อหรือถูกบังคับให้ปฏิบัติโดยรัฐ (ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, 2538: 20)
ควํามเชื่อ
ราชบัณฑิตยสถาน (2547: 372) ให้ความหมาย เชื่อ หมายถึง เห็นตามด้วย มั่นใจ ไว้ใจ
ภิญโญ จิตต์ธรรม (2522: 2) ให้ความหมาย ความเชื่อ หมายถึง เป็นสิ่งที่มนุษย์ค่อยๆเรียนรู้และ ทาความเข้าใจมาจานวนหลายพันปี และมีความเชื่อว่ามีอานาจลึกลับที่จะทาให้มนุษย์ได้รับผลดีผลร้ายจากความเชื่อ
มณี พะยอมยงค์ (2536: 70) ให้ความหมาย ความเชื่อ เป็นพื้นฐานให้เกิดการกระทาสิ่งต่างๆ ทั้ง ด้านดีและด้านร้าย คนโบราณจึงสร้างความศรัทธาให้เกิดแก่ลูกหลานและปลูกฝังความเชื่อให้ลึกลงไปในจิตสานึกของ แต่ละคน จนไม่สามารถอดถอนได้ เมื่อความเชื่อมีเต็มที่แล้วจึงทาสิ่งที่ตนต้องการมากกว่าเดิม ความเชื่อนับเป็นพื้นฐาน แห่งการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และศาสนา
จะเห็นว่าลัทธิความเชื่อ มีความเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาที่ประกอบด้วย ความศรัทธา และเป็นเครื่อง ยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ และฝังรากลึกในจิตสานึกของคนในภาคใต้ เป็นเหตุทาให้มีการสร้างภาพจิตรกรรมฝาผนัง ประกอบไปด้วยภาพปริศนาธรรมที่ใช้เป็นส่ือสอนธรรมะด้วยภาพให้กับสังคมชุมชน ให้เห็นถึงทุกข์ และการดับทุกข์ เพื่อให้ประชาชนได้นาไปประพฤติปฏิบัติ อันจะนาไปสู่ความสงบสุข หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง ดังปรากฏคติความเชื่อต่างๆ ในภาพปริศนาธรรมดังนี้
1) คติควํามเชื่อพุทธศําสนํากับท้องถิ่นภําคใต้
ศาสนาเปน็ เครอื่ งยดึ เหนยี่ วและเปน็ ทพี่ งึ่ ทางใจมนษุ ยเ์ มอื่ ผคู้ นเกดิ ความทกุ ขห์ รอื มคี วามตอ้ งการทางดา้ นจติ ใจ เชน่ รสู้ กึ วา้ เหว่ เปลา่ เปลยี่ ว ระทมทกุ ข์ เพราะความไมส่ มหวงั หรอื พลดั พรากจากจากบคุ คลอนั เปน็ ทรี่ กั วตั ถไุ มส่ ามารถขจดั หรือบรรเทาทุกข์ได้ทาให้มนุษย์หาที่ยึดเหนี่ยวให้เกิดความอบอุ่นแก่จิตใจซึ่งศาสนาทาหน้าที่ดังกล่าวให้กับมนุษย์ได้อย่าง สมบูรณ์ที่สุด (ธรรมนูญ วิเศษสิงห์, 2550 : 32) งานศิลปะจัดเป็นวัฒนธรรมที่สาคัญอย่างหน่ึงของมนุษย์เพราะแสดงถึง ความเจริญงอกงามทางด้านจิตใจของผู้สร้างสรรค์ ผลงานศิลปะของภาคใต้ส่วนใหญ่เกิดจากอิทธิพลของศาสนาโดยเฉพาะ พุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์เพราะศิลปะเป็นเครื่องมือสาคัญในการเผยแพร่พุทธศาสนา ดังที่ ศาสตราจารย์พระยา อนุมานราชธน กล่าวไว้ว่า “ศิลปะเป็นสิ่งสูงอาจกล่อมเกลาจิตใจคนให้พ้นจากจิตใจเบื้องต่า คนดุร้ายกระด้างก็กลับเป็นคน ตรงกันข้าม ขี้ขลาดก็กลับกล้าหาญ ขี้เกียจคร้านก็กลับขยันเพราะด้วยอานาจแห่งศิลปะเป็นเครื่องชักจูงโน้มน้าวใจ ศิลปะ เป็นเครื่องมือท่ีดีที่สุด สาหรับอบรมจิตใจ ให้การศึกษาแก่พลเมือง ให้มีคุณงามความดีประจาใจ” ด้วยเหตุผลนี้จึงพบว่า พทุ ธศาสนาทแี่ พรเ่ ขา้ มาสสู่ วุ รรณภมู แิ ตล่ ะสมยั มงี านศลิ ปะและชา่ งผชู้ า นาญในศลิ ปกรรมสกลุ ตา่ งๆเขา้ มาดว้ ย ชา่ งเหลา่ นนั้ ได้สอนให้คนพื้นเมืองเรียนรู้จนสามารถสร้างศิลปะขึ้นเองได้ (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529: 3443) ดังปรากฏผลงาน ปริศนาธรรมอยู่ควบคู่กับพระพุทธศาสนาในท้องถิ่นภาคใต้โดยมีความเชื่อความศรัทธาในศาสนาพุทธเป็นหลักผสมผสาน ความเชื่อของท้องถิ่นภาคใต้
5