Page 16 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 16
จิตรกรรมฝาผนังในภาคใต้ส่วนใหญ่จะเขียนภาพพุทธประวัติ ภาพนิทานชาดก ภาพแสดงภูมิชั้นของ นรก สวรรค์ ภาพแสดงปริศนาธรรม ภาพกรรมฐาน ภาพเกี่ยวกับวรรณคดีทางพุทธศาสนาหรือนิทานเปรียบเทียบและ คติชาวบ้านในท้องถิ่น เพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้ดูผู้ชมให้ละชั่วทาดี และทาใจให้บริสุทธิ์ ซึ่งจะเขียนไว้ตามผนังของพระอุโบสถ วิหารศาลาการเปรียญหรือตามถ้า นับเป็นศิลปกรรมที่สาคัญสาหรับการเผยแพร่พุทธศาสนา (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529: 3447) ภาพปริศนาธรรมที่แสดงถึงความเชื่อพุทธศาสนากับท้องถิ่นภาคใต้ แนวเรื่องไตรลักษณ์ด้วยภาพการเผาศพ แบบสามส้าง นรกภูมิ การทาบุญของชาวบ้านในจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมาวาส จังหวัดสงขลา ตามหลักธรรมคาสอน ของพระพุทธเจ้า เพื่อโน้มน้าวจิตใจของผู้ชมให้หันมาทาความดีละเว้นความชั่วทาจิตใจให้บริสุทธิ์ สอดคล้องกับคติ ความเชื่อที่ปรากฏในศิลปวัฒนธรรมในภาคใต้ เช่น 1) ความเชื่อกฎแห่งกรรม 2) ความเชื่อในการทาบุญของชาวใต้ 3) ความเชื่ออย่างเหนียวแน่นว่าพุทธเจ้ามีจริง 4) ความเชื่อการเผาศพแบบสามส้าง
2) คติควํามเชื่อในวรรณกรรมท้องถิ่นภําคใต้
คติควํามเช่ือในวรรณกรรมท้องถิ่น “ลิงขําว-ลิงดํา” แสดงถึงความเชื่อเรื่องความดีความชั่วที่แฝงนัย
ปริศนาธรรมเอาไว้ คือ ลิงขาว-ลิงดา หมายถึงความดี-ความชั่ว และกุศล-อกุศล นอกจากนี้ยังแสดงถึงการให้ความสาคัญ ต่อการกตัญญูต่อครูบาอาจารย์อันเป็นวัฒนธรรมของชาวท้องถิ่นภาคใต้ที่ถือปฏิบัติต่อกันมา (นิพัทธ์ เพ็งแก้ว, 2543 : 248-249) ภาพลิงขาวลิงดาปรากฏเป็นส่วนประกอบภาพปฏิจจสมุปบาท วัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา
3) คติควํามเชื่อในศําสนําอิสลําม
แนวคิดอิสลามคือ หลักปรัชญาในการทาให้ชีวิตมีความสุขด้วยความมุ่งมั่นศรัทธาไม่ฟุ้งเฟ้อลุ่มหลง คือสันติ ใหอ้ ภยั มรี ะเบยี บวนิ ยั และไมป่ ระมาท คา วา่ อสิ ลามแปลวา่ การยอมรบั จา นนการปฏบิ ตั ติ าม การนอ้ มนา เชอื่ ฟงั และสนั ตภิ าพ เปน็ ศาสนาแหง่ การยอมนอบนอ้ มตอ่ พระเจา้ โดยยดึ ถอื หลกั การคมั ภรี อ์ ลั กรุ อาน ซงึ่ เปน็ คมั ภรี ท์ รี่ วบรวมวจั นะอลั ลอฮ์ (ซ.บ.) ที่ประทานแก่มนุษย์โดยผ่านทางศาสดามูฮัมหมัด (ช.ล.) และบันทึกคาพูดการประพฤติปฏิบัติจริยวัตรวิถีชีวิตของศาสนา มูฮัมหมัด (ซ.ล.) และบรรดาสาวกของท่านเป็นแนวทางในการดารงชีวิต (พิบูล ไวจิตรกรรม , 2553 : 72) ดังปรากฏ ภาพปริศนาธรรม 1) แนวเรื่องไตรลักษณ์ แสดงออกถึง คติความเชื่อความไม่เที่ยงของสังขารด้วยภาพขบวนแห่ศพ เจ้าเซ็น เป็นพระศพของผู้นาศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์ เป็นการบันทึกเรื่องราวพิธีกรรมเนื่องในความตายเป็นบุคคล หนงึ่ ในหา้ บคุ คลทเี่ คารพของผนู้ บั ถอื นกิ ายชอี ะหแ์ ละภาพปรศิ นาธรรมแสดงถงึ 2) คตคิ วํามเชอื่ กํารอยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยสนั ตสิ ขุ ของศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธด้วยภาพมัสยิดกับเจดีย์ของศิลปะไทย เป็นรูปแบบจุฬามณี บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังวัดโคกเคียน จังหวัดปัตตานี
4) คติควํามเช่ือในศําสนําฮินดู-ชวํา
ในส่วนของภาพปริศนาธรรมที่เป็นเรื่องรามเกียรติ์หรือรามยณะเป็นตานานและเทวปกรณ์ (Myty) ของอินเดีย ที่ปรากฏในรูปคาบอกเล่าก่อนพุทธกาลหลายร้อยปี
ความเชอื่ ในวรรณกรรมเรอื่ งรามเกยี รตห์ิ รอื รามยณะเปน็ สงครามมนษุ ยก์ บั ยกั ษเ์ ปรยี บไดเ้ ปน็ ความดกี บั ความชวั่ (สมชาติ มณีโชติ, 2529: 110-112) ดังปรากฏภาพตัวละครได้แก่ นิลพัทธ และมัจฉานุ แบกฐานพระพุทธรูปเพื่อเป็นการ
6