Page 18 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 18
2. แนวคิดด้ํานกํารวิเครําะห์ภําพปริศนําธรรมในภําคใต้
ควํามคิดเชิงวิเครําะห์ เป็นความคิดเชิงลึกต้องใช้ความสามารถในการสังเกต การตีความสืบค้นการหา
ความสัมพันธ์ เชื่อมโยงตรรกะที่ดี เพื่อค้นหาความเป็นมาเป็นไปอย่างไร (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2549: 24) ดังนี้
1) การวิเคราะห์เพื่อจาแนกแจกแจงความคลุมเครือของรูปธรรมให้ชัดเจน
2) การวิเคราะห์ความน่าจะเป็นโดยวิเคราะห์แจกแจงในรูปแบบของแผนภูมิหรือตัวเลขและอธิบายสาระ
ของข้อความในแต่ละหัวข้อ
3) การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของข้อมูล
4) การวเิ คราะหป์ ญั หา อธบิ ายสาเหตขุ องปญั หาแจกแจงเนอื้ หาเพอื่ หานยั ทซี่ อ่ นอยใู่ นรปู ธรรม และวเิ คราะห์ ให้ลึกหลายๆชั้นถึงต้นตอของปัญหา
2.1 แนวควํามคิดในกํารวิเครําะห์ภําพปริศนําธรรม
กํารวิเครําะห์ หมายถึง การจาแนกแจกแจงองค์ประกอบต่างๆของสิ่งใดสิ่งหนึ่งและหาความสัมพันธ์
เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2549: 2) 1) กํารวิเครําะห์ข้อมูลปริศนําธรรมภําคใต้ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือช่วงศิลปะรัตนโกสินทร์ (รัชกาล ที่ 1-8) วัดโพธิ์ปฐมวาส จังหวัดสงขลา และช่วงศิลปะรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 9) โรงมหรสพทางวิญญาณของท่านพุทธทาส ภิกขุ เพื่อเป็นการแยกแยะเรื่องราวสิ่งต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อยๆ และเพ่ือให้เห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสิ่งที่เกี่ยวข้องกัน โดยการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามหวั ขอ้ ดงั นี้ รปู แบบ เทคนคิ เชงิ ชา่ ง เนอ้ื หาสาระ คตคิ วามเชอื่ การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ สญั ลกั ษณ์
ของการแสดงออก
2) กํารอธิบํายกํารวิเครําะห์(Analysis)วิธีการคือการพยายามวิเคราะห์จาแนกแยกแยะจัดกลุ่ม
ประเภท โดยเฉพาะหน่วยระดับการวิเคราะห์ ได้แก่ ทัศนธาตุ ทัศนไวยากรณ์ ทัศนอักษร วิธีและนิติบริบทเกี่ยวข้อง ที่ประกอบเป็นภาพผลงาน นักวิจัยต้องถอดและแปลความหมายองค์ประกอบข้างต้นให้มองแล้วเข้าใจง่ายไม่ว่าจะเป็น ภาษาภาพหรือภาษาหนังสือผ่านรูปลายลักษณ์ต่างๆ หรือการใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ และเทคโนโลยีเข้าช่วยเสริม ยืนยันหรือถอดรหัสตรงนั้นตรงนี้อย่างเกื้อกูลกัน อาจช่วยการวิเคราะห์ให้เข้าถึงความจริงเชิงนามธรรมได้ตรงขึ้น (สุชาติ เถาทอง, 2553: 65) หลักการวิธีการนี้นาไปใช้ในการอธิบายการวิเคราะห์ภาพปริศนาธรรมให้มีความสอดคล้องเช่ือมโยง สัมพันธ์กันและมีตารางแผนภูมิประกอบการวิเคราะห์ในแต่ละหัวข้อเพื่ออธิบายเชื่อมโยงเชิงเหตุผลทาให้ข้อมูลรูปธรรม มีความชัดเจนมากขึ้น
3) กํารสรปุ กํารวเิ ครําะห์ เปน็ การสรปุ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ลกบั แนวคดิ ของภาพปรศิ นาธรรม โดยใช้ แนวความคิดเชิงวิพากษ์เข้ามาร่วมในการวิเคราะห์ของแต่ละหัวข้อในแต่ละแนวเร่ืองในการประสานสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ขององค์ประกอบศิลป์ของรูปทรงกับเนื้อหา เพื่อค้นหาสาเหตุท่ีแท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้นขององค์ประกอบย่อยๆ ที่ซ่อนอยู่ ภายใน ซงึ่ ทา ใหเ้ หน็ ภาพเชงิ ลกึ รเู้ หตผุ ลอยเู่ บอ้ื งหลงั ของรปู ธรรม รอู้ ารมณค์ วามรสู้ กึ ทซ่ี อ่ นอยใู่ นสญั ลกั ษณข์ องการแสดงออก ตามแนวเรื่อง นาไปสู่การสังเคราะห์ต่อไปโดยมีการสรุปดังน้ี
8