Page 20 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 20
(มณี พะยอมยงค์, 2536: 70) การวิเคราะห์คติความเช่ือในภาพปริศนาธรรม เพ่ือหาความหมายแฝงในรูปทรงที่มีผลต่อ ความเช่ือ ความรู้สึก ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของผู้ดูชม
5) องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ศิลปะที่มนุษย์สร้างข้ึนเพ่ือแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด หรือ ความงาม ซงึ่ ประกอบดว้ ย สว่ นทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เรยี กวา่ รปู ทรง และสว่ นทเี่ ปน็ การแสดงออกอนั เปน็ ผลทเี่ กดิ จากโครงสรา้ ง ทางวัตถุ เรียกว่าเนื้อหาหรือองค์ประกอบทางนามธรรม (ชลูด น่ิมเสมอ, 2534: 18)
นาหลักองค์ประกอบศิลป์มาอธิบายตีความในแต่ละแนวเรื่องในการประกอบกันของรูปทรงกับเน้ือหาให้มี ความเป็นเอกภาพ และเหตุผลในการเน้นความสาคัญที่มีความสัมพันธ์กับคติความเชื่อของคนในภาคใต้ ท่ีปรากฏในผลงาน ที่นาไปสู่การสังเคราะห์โครงสร้างองค์ประกอบใหม่
6) สัญลักษณ์ของกํารแสดงออก
ศิลปะหรือความงามเป็นนามธรรมที่แสดงด้วยรูปทรง เป็นผลิตผลการประสานกันอย่างแนบเนียนของ ทัศนธาตุต่างๆ ผู้ที่จะเข้าใจเน้ือหาของงานได้ถูกต้อง คือ ผู้ท่ีเข้าใจคุณค่าของรูปทรงเป็นอย่างดีมาแล้ว มิฉะนั้นเนื้อหาก็จะ เป็นเพียงเรื่องแบบนิทาน (ชลูด น่ิมเสมอ, 2534: 251)
ร่างกายของมนุษย์เป็นบ่อเกิดท่ีสาคัญของสัญลักษณ์ในการแสดงออก เวลาโกรธ ดีใจหรือเสียใจ ลักษณะ ทา่ ทางจะเปลยี่ นไปตามอารมณน์ นั้ ๆ เราคนุ้ เคยกบั ลกั ษณะทเี่ ปน็ สญั ลกั ษณข์ องอารมณเ์ หลา่ นเี้ ปน็ อยา่ งดี ดงั ปรากฏ สงิ่ ตา่ งๆ ในธรรมชาติ ต้นไม้ที่ลู่ก่ิงโค้งลง บรรยากาศที่มืดสลัว เป็นสัญลักษณ์ของความเศร้าที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะลักษณะของ ส่ิงเหล่านี้ใกล้เคียงกับลักษณะและประสบการณ์ของมนุษย์ ศิลปินใช้รูปทรงท่ีมีสัญลักษณ์ดังกล่าวเป็นโครงสร้างในการ แสดงออกของอารมณ์ตามแนวเร่ืองในงานของเขา (ชลูด น่ิมเสมอ, 2534: 261)
นาหลักการดังกล่าวมาวิเคราะห์รูปทรงที่มีนัยแฝงด้วยเน้ือหาอย่างไร และมีเหตุผลอย่างไรในการแสดงออก ของรูปทรง เพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ในการสังเคราะห์แนวคิดใหม่
การศึกษาวิเคราะห์ ภาพปริศนาธรรมในภาคใต้ สมัยศิลปะรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 1-9) ท่ีมีรูปแบบ เทคนิค เชิงช่าง เน้ือหาสาระ คติความเชื่อ การจัดองค์ประกอบศิลป์ และสัญลักษณ์ของการแสดงออกนาไปสู่การสังเคราะห์แนวคิด ใหม่จากข้อมูลภาพปริศนาธรรมท่ีปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ดังน้ี
10