Page 217 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 217
ข้ันท่ี 7 กํารนํานวัตศิลป์ไปใช้ประโยชน์
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการคิดเชิงสังเคราะห์ เพื่อการสร้างสรรค์นวัตศิลป์แนวคิดใหม่ เมื่อได้ตัวแบบ การสังเคราะห์ที่ครบสมบูรณ์แล้ว ให้นาข้อมูลความคิดที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์และนาไปใช้ ในการตัดสินใจเลือก
การคิดเชิงสังเคราะห์ถือว่าสาคัญในการคิดท่ีจะต้องฝึกฝนให้เกิดความชานาญ เพื่อที่จะเป็นคนที่เฉียบคมทาง ความคดิ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทแ่ี จม่ ชดั กบั เรอื่ งตา่ งๆ สามารถคน้ หาทางเลอื กทดี่ ที สี่ ดุ ใหก้ บั การแกป้ ญั หาและการสรา้ งสรรค์ สิ่งใหม่ๆ ลดข้อผิดพลาดในการตัดสิน ซึ่งนาไปสู่ความสาเร็จ เป็น “ผู้ชนะ”ไม่ว่าจะทาอะไรก็ตามใจ
การสังเคราะห์จากข้อมูลเลือกมา เป็นการจาลองการคิดท่ีช่วยให้สมองทางานอย่างเป็นระบบ โดยการคิดแยก ส่ิงท่ีต้องการออกจากส่ิงท่ีไม่ต้องการ แล้วนาส่ิงที่ต้องการจัดวางให้เหมาะสมภายใต้โครงร่างใหม่ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ ของการคิดให้อย่างครบถ้วน ทาให้ได้ข้อมูลในการตัดสินใจที่ไม่ผิดพลาดและเหมาะสมกับเนื้อหาและพื้นที่ในการนาไปใช้ เกิดการเรียนรู้ใหม่ที่ทันสมัยและมีประสิทธิผลมากข้ึน
สรุปผลกํารสังเครําะห์นวัตศิลป์
การสังเคราะห์แนวคิดใหม่ของภาพปริศนาธรรม แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 (ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธ คามินีปฏิปทา) ทั้งหมด 24 ภาพนาไปติดต้ังสถานที่จริงภายในเจดีย์พุทธคยา รอบที่ 2 ปัญญา มีความเป็นนวัตศิลป์ ท่ีมีผล ต่อการรับรู้ที่ดีขึ้น โดยผู้ดูมีปฏิสัมพันธ์กับผลงาน ซึ่งสามารถสรุปตามวัตถุประสงค์ดังน้ี
1) เกิดโครงสร้างองค์ประกอบศิลป์ ที่มาจากวิเคราะห์ ตีความหมาย รูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง เน้ือหาสาระ คติความเช่ือ การจัดองค์ประกอบศิลป์ สัญลักษณ์ของการแสดงออก ภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ แนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ วรรณคดี รามายณะ วรรณกรรมของท้องถ่ินภาคใต้ ในสมัยศิลปะรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 1-8) วัดโพธ์ิปฐมาวาส จังหวัดสงขลา และวัดอื่นๆ อีก 11 วัด และภาพปริศนาธรรม โรงมหรสพทางวิญญาณ วัดธารน้าไหล สวนโมกขพลาราม สมัยศิลปะรัตนโกสินทร์(รัชกาลที่ 9)
จากการวิเคราะห์ตีความหมาย สังเคราะห์ ทาให้ได้ข้อมูลภาพปริศนาธรรมในภาคใต้ด้านรูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง เนื้อหาสาระ คติความเชื่อ การจัดองค์ประกอบศิลป์ และสัญลักษณ์ของการแสดงออก ในภาพปริศนาธรรมในภาคใต้ (สมัยศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่1-9) เกิดโครงสร้างในแต่ละกลุ่มของข้อมูล ที่สะท้อนหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า แนวเรื่อง ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 ไตรภูมิ เช่ือมโยงคติความเชื่อในพุทธศาสนาของท้องถิ่นภาคใต้ และเกิดองค์ความรู้ เกิดประเด็นเหตุแห่งทุกข์ ทางดับทุกข์ ข้อปฏิบัติให้ถึงการดับทุกข์ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข การ ให้เกียรติทุกศาสนา นามาซ่ึงความสามัคคี โดยมีความเช่ือความศรัทธาของพุทธศาสนาเป็นหลักและเป็นพื้นฐานทาง ความคิด อันแสดงออกของศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินภาคใต้ และเกิดท่ีมาจากการวิเคราะห์สู่การสังเคราะห์
จากการสังเคราะห์ตีความสัญลักษณ์ในการแสดงออกของ แนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาทไตรลักษณ์ ไตรภูมิ เกิดโครงสร้างเหตุแห่งทุกข์ สมุดภาพปริศนาธรรมไทย (สัมมาทิฏฐิ และ มิจฉาทิฏฐิ) ภาพแกะสลักไม้ของเชอแมน
207