Page 221 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 221
บททีี่่ 5 บทสรุป
การวเิคราะหภ์ าพปรศิ นาธรรมในจติ รกรรมฝาผนงั ของภาคใต้สมยั ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทรช์ ว่ งรชั กาลที่1-9จา นวน13วดั แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ี 1 ช่วงรัชกาลที่ 1-8 คือ วัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา วิเคราะห์เช่ือมโยงวันอ่ืนๆ ของ ภาคใต้ และช่วงรัชกาลท่ี 9 คือ ภาพปริศนาธรรมโรงมหรสพทางวิญญาณ สวนโมกขพลาราม วัดธารน้าไหล จังหวัด สรุ าษฎรธ์ านี เกดิ โครงสรา้ งองคป์ ระกอบศลิ ป์ ดา้ นรปู แบบ เทคนคิ เชงิ ชา่ ง เนอ้ื หาสาระ คตคิ วามเชอ่ื การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ สัญลักษณ์ของการแสดงออก และสรุปผลการวิเคราะห์ตามแนวเร่ืองปฎิจจสมุปทาท ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 วรรณคดีรามายณะ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ ภาพปริศนาธรรมไทย นามาสร้างความสัมพันธ์กับการสังเคราะห์ ภาพปริศนาธรรมแนวคิดใหม่ แนวเรื่องอริยสัจจ์ 4 ภาพแกะสลักไม้ของเชอแมน ประกอบด้วย เนื้อหา ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ผสมผสานความเป็นนวัตศิลป์ คนมีส่วนร่วมปฏิสัมพันธ์ในผลงาน แก้ปัญหาการรับรู้ ภาพปริศนาธรรมที่ดีข้ึน นามาสู่การวิเคราะห์และสรุปผลตามประเด็น ดังนี้
ประเด็นท่ี 1 ปัจจัยในกํารแสดงออกของรูปแบบท่ีหลํากหลําย และมีลักษณะเฉพําะของภําพปริศนําธรรม
ในภําคใต้
1) คติควํามเชื่อในพระพุทธศําสนําและคติควํามเช่ืออ่ืนๆของคนในภําคใต้
ความเชอื่ ทม่ี คี วามหลากหลายทป่ี รากฏในภาพปรศิ นาธรรมทปี่ รากฏในจติ รกรรมฝาผนงั ในภาคใต้ ชว่ งศลิ ปะ รัตนโกสินทร์ เช่น ความเช่ือในไตรลักษณ์ของชาวจีนนับถือพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซ่ึงมีอิทธิพลจากอินเดีย มีความเชื่อ ในการเคารพบูชาบรรพบุรุษ การเช่ือถือวิญญาณ ความเช่ือสวรรค์ และความเชื่อในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ และศาสนา อิสลาม เป็นภาพการแห่พระศพของผู้นาศาสนา และพุทธศาสนา เป็นภาพปลงอสุภะ เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่จะแสดงถึง ความเชอ่ื ความดคี วามชวั่ ดงั เชน่ วรรณคดรี ามยณะของอนิ เดยี เปน็ สงครามความดแี ละความชวั่ ซงึ่ จากความหลากหลายทาง ความเชอ่ื จงึ ปรากฏภาพปรศิ นาธรรมทม่ี กี ารผสมผสานรปู แบบทางความเชอ่ื ทงั้ ทจ่ี บเปน็ ภาพและมคี วามตอ่ เนอ่ื งสมั พนั ธก์ นั
2) กํารแก้ปัญหําควํามขัดแย้งของศําสนําและกํารปกครองของผู้คนในภําคใต้
ภาพปริศนาธรรมที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ ดังเช่น ภาพเขียนในช่วงรัชกาลท่ี 4 วัดโพธ์ิ ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา ซึ่งเจ้าเมืองสงขลาในอดีตมีความประสงค์ให้ภาพปริศนาธรรมแนวเรื่องไตรลักษณ์ ความไม่เที่ยง ของสังขาร เกิดข้ึน ต้ังอยู่ ดับไป ซึ่งเปรียบเทียบกับการตายของทุกศาสนา ทุกคนเกิดมาจะต้องตาย โดยการเขียนภาพ แห่งการตาย การสูญเสีย ของการไหว้หลุมศพ
211