Page 222 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 222
(ฮวงซุ้ย)ของชาวจีน การแห่พระศพของผู้นาศาสนาอิสลามนิกายซีอะห์ และปลุงอสุภะของพระสงฆ์ ศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นการสอนธรรมะของพระพุทธเจ้า และการให้เกียรติทุกศาสนา ให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและมีความสามัคคีกัน ลดความขัดแย้งของศาสนาสังคมชุมชนในภาคใต้
3) กํารเผยแพร่และสืบสํานหลักคําสอนของพระพุทธเจ้ําด้วยศิลปะ
ในอดีตภาคใต้บริเวณฝั่งทิศตะวันออกทะเลอ่าวไทย เป็นดินแดนเช่ือมผ่านเป็นรัฐชายขอบแดน และพื้นที่ ติดกับทะเลเป็นส่วนใหญ่ มีการค้าขายและการสร้างวัดบริเวณริมฝั่งทะเล และมีหลากหลายเชื้อชาติเข้ามา จึงทาให้มี ความหลากหลาย แต่ศาสนาพุทธถือว่าเป็นศาสนาที่ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจของคนในภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ และไม่ว่าจะเป็นศาสนาอ่ืนท่ีอยู่ในภาคใต้เข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีของวัด ดังเช่น การพบปะพูดคุย การศึกษา จึงเป็น สถานท่ีสาคัญที่สามารถเผยแพร่หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา ด้วยภาพปริศนาธรรมที่ผสมผสานความ หลากหลายเทคนิคเชิงช่าง เนื้อหาสาระ ดังปรากฏ ภาพปริศนาธรรมแนวเร่ืองวรรณคดีรามายณะของอินเดีย (ภาพที่ 2-49) ภาพวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ ในการเผาศพสามสร้างของภาคใต้ (ภาพท่ี 2-48) เป็นต้น ซึ่งนอกจากจะเผยแพร่หลักธรรม ของพุทธศาสนาแล้วยังเป็นการบันทึกประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรมในภาพปริศนาธรรมด้วย
สรุปได้ว่ํา ปัจจัยในการแสดงออกของรูปแบบท่ีหลากหลายอันเน่ืองมาจาก
1) ความหลากหลายวัฒนธรรมของภาคใต้ ที่ปรากฏท้ังรูปแบบ เน้ือหาสาระ ลักษณะเฉพาะของรูปแบบ ศลิ ปะจนี รปู แบบศลิ ปะศาสนาอสิ ลาม รปู แบบศลิ ปะตะวนั ตก รปู แบบทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ ดงั ปรากฏในภาพปรศิ นาธรรมวดั โพธิ์ ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา (ภาพท่ี 2-46)
2) เกิดจากฝีมือช่างท้องถิ่นที่สร้างสรรค์ข้ึนตามความคิดเห็นที่สร้างรูปทรงกับเนื้อหาให้มีความเป็นเอกภาพ ดังเช่น เจดีย์จุฬามณี บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วัดโคกเคียน จังหวัดปัตตานี (2-53)
3) เกิดจากการรวมตัวของภาพปริศนาธรรมในผลงานเดียว โดยการผสมผสานรูปทรงกับของเนื้อหาเป็นหลัก แล้วนารูปแบบศิลปะตะวันตก เป็นเทคนิคการวาดภาพที่มีลักษณะเหมือนกันกับช่างหลวงภาคกลางของขรัวอินโข่ง วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ
4) เกิดจากพื้นที่ภาคใต้อยู่ท่ามกลาง ผู้คน สังคม การคมนาคม การเมือง ศาสนา การปกครอง ที่มีความ หลากหลายของผู้คน ดังน้ันจึงมีการวาดภาพที่มีความหลากหลาย เทคนิคเชิงช่าง ความเช่ือ เน้ือหาสาระ แต่มีแนวคิดท่ี เป็นแกนคือ ศาสนาพุทธ ดังเช่น แนวเร่ืองไตรลักษณ์ (ภาพที่ 2-40)
ประเดน็ ที่2กํารแสดงออกของรปู แบบเนอื้ หําสําระกํารจดั องคป์ ระกอบควํามโดดเดน่ ของภําพปรศิ นําธรรม
รูปแบบ เทคนิคเชิงเร่ือง เน้ือหาสาระ คติความเช่ือ การจัดองค์ประกอบศิลป์และสัญลักษณ์ของการแสดงออก ซ่ึงปรากฏในวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา ที่มีความชัดเจนในการแสดงออกภาพปริศนาธรรม แนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ อบายภูมิ ธุดงค์ 13 มีลักษณะการใช้รูปทรงเป็นสัญลักษณ์แสดงออกอารมณ์ความรู้สึกท่ีสอดคล้องกับเนื้อหา สะทอ้ นคตคิ วามเชอื่ ของคนในทอ้ งถนิ่ ทมี่ ตี อ่ พระพทุ ธศาสนา และวดั อนื่ ๆ ของภาคใตท้ ม่ี ภี าพปรศิ นาธรรม ดงั เชน่ วดั ชลธารา สิงเห วัดป่าศรี วัดโคกเคียน เป็นต้น เป็นการนาเสนอเป็นบางช่วงบางตอนท่ีสอดคล้อง หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
212