Page 224 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 224
สะอาด สว่าง แห่งมรรคผล นิพพานทั้งในปัจจุบัน และอนาคต และ เป็นไปตามความเชื่อว่าผู้ที่สร้างงานพุทธศิลป์ท่ีเผยแพร่ หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า จะเกิดผลของความดีงามและบุญกุศลที่ดีกับผู้สร้าง แล้วยังส่งผลบุญให้กับผู้ชม
กํารจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ มสี ว่ นสา คญั ในการสงั เคราะหภ์ าพปรศิ นาธรรม จะไมม่ เี กณฑต์ ายตวั มอี สิ ระในการแสดง ตามความคิดเห็นของช่าง ในการลาดับภาพ การประกอบรูปทรงที่สอดคล้องกับเน้ือหา การสร้างมิติของภาพจะมีความ หลากหลายเชิงช่าง มีการเพ่ิมลดขนาดของรูปทรงตามความเหมาะสมของเนื้อหาอันเกิดจากการประสานสัมพันธ์กันให้ เกิดความเป็นเอกภาพของส่วนประกอบของรูปทรงอันเป็นสัญลักษณ์การแสดงออกที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหา ดังเช่น รูปทรงกบกลืนช้างในท้องช้างมีน้า 3 สระ รูปทรงกบ คือ โลภะ เป็นต้น และการจัดองค์ประกอบที่มีการทับซ้อนกันของ รูปทรงในภาพนรกภูมิ แสดงถึงความวุ่นวาย ด้ินรน อัดแน่นของสัตว์นรก ซึ่งปรากฏท้ังการจัดองค์ประกอบท่ีสร้างสรรค์ขั้น ด้วยโครงสร้างใหม่ และเป็นไปตามความเป็นจริงตามธรรมชาติ เช่น ภาพการฝังศพแบบจีน (ฮวงซุ้ย) และการเผาศพแบบ สามสา้ งของภาคใต้ และการผสมผสานความเชอื่ และรปู ทรงทหี่ ลากหลายทางศาสนา แตส่ รา้ งความเปน็ เอกภาพดว้ ยเนอื้ หา ความดีงาม และการจัดองค์ประกอบที่มีความเป็นอิสระของช่างท้องถ่ินภาคใต้ในการประกอบกันของรูปทรง + เนื้อหา และการใช้สี แต่มีความเป็นเอกภาพด้วยเน้ือหาทางความเชื่อ ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา ดังปรากฏภาพปริศนาธรรม วัดโคกเคียน
สัญลักษณ์ของกํารแสดงออก รูปทรงในภาพปริศนาธรรมมีความสาคัญในการแสดงออกของเนื้อหาท่ีทาให้ผู้ชม เกดิ การตคี วาม เพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจ ในการเขา้ ถงึ หลกั ธรรมคา สอนของพระพทุ ธเจา้ รปู ทรงในธรรมชาติ เปน็ แรงบนั ดาลใจ ท่ีสาคัญทาให้เกิดแนวเร่ือง ซึ่งเกิดจากเลือกรูปทรงท่ีมีนัยซ่อนเนื้อหานามาสร้างสรรค์ การเลือกรูปทรงเป็นไปตามความ คิดเห็นของช่างท่ีจะนามาสื่อสัญลักษณ์แทนเน้ือหา ให้มีความเป็นเอกภาพของ แนวเร่ือง+รูปทรง +เทคนิค = งานศิลปะ ใหเ้ กดิ ความสมบรู ณข์ องแนวเรอื่ ง ดงั เชน่ อปุ าทาน 4 เปรยี บกบั งู และลงิ เปรยี บกบั จติ ใจของคน ซงึ่ รปู ทรงในการแสดงออก ทาให้ผู้ดูชมเกิดอารมณ์ทางสุนทรีย์ ทาให้เกิดความน่าสนใจ เป็นส่ิงใหม่ เป็นสิ่งที่ปลุกอารมณ์ของคนดู และปลุกอารมณ์ ความรู้สึกให้เข้าถึงความงาม ความดี ความจริง
ประเด็นท่ี 3 กํารแสดงออกในโครงสร้ํางองค์ประกอบศิลป์ มีผลกับกํารส่ือนัยควํามหมํายในแนวเร่ืองของ ภําพปริศนําธรรมในภําคใต้
การวิเคราะห์ภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ เกิดโครงสร้างองค์ประกอบศิลป์ ท่ีมีความสัมพันธ์ เช่ือมโยงกันของรูปทรงกับเนื้อหา ซึ่งสื่อนัยความหมาย โดยใช้ส่ือสัญลักษณ์การแสดงออกของรูปทรงที่มีรูปแบบเทคนิค เชิงช่าง เนื้อหาสาระ คติความเชื่อท่ีหลากหลาย ท่ีช่างนามาผสมผสานทาให้เกิดความโดดเด่นและมีลักษณะเฉพาะให้เกิด ความเป็นเอกภาพ ดังท่ี ชลูด นิ่มเสมอ (2534 : 18) ได้สรุปว่า การจัดองค์ประกอบศิลป์ถือว่า มีส่วนสาคัญในการสร้าง ผลงาน ซ่ึงจะทาให้ผลงานเหล่าน้ี มีความเป็นเอกภาพ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีส่วนประกอบระหว่างรูปทรงกับเน้ือหา ที่มีการประสานกลมกลืนกัน ซ่ึงรูปทรง(Form) เป็นองค์ประกอบรูปธรรม เน้ือหา(Content) เป็นองค์ประกอบนามธรรม ดังนั้น องค์ประกอบท่ีเป็นโครงสร้างหลักของงานศิลปะคือรูปทรงกับเนื้อหา
214