Page 225 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 225
การแสดงออกของจดั โครงสรา้ งองคป์ ระกอบศลิ ปภ์ าพปรศิ นาธรรมของความหลากหลายขนึ้ อยกู่ บั เนอื้ หา กา หนด รูปทรง และจินตนาการ และความคิดเห็นของช่างเขียนด้วย ดังปรากฏแนวเรื่องปฎิจจสมุปบาท ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 ไตรภูมิ ไตรลักษณ์ วรรณคดีรามายณะ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ ภาพปริศนาธรรมไทย และภาพปริศนาธรรมชุดแกะสลักไม้ ของเชอแมน
สรปุ การผสมผสานโครงสรา้ งองคป์ ระกอบศลิ ปข์ องเนอ้ื หาและรปู ทรง ในแนวเรอ่ื งภาพปรศิ นาธรรม ดว้ ยเทคนคิ วิธีการประกอบกัน ดังนี้
1) การผสมผสานรูปทรงกับเนื้อหาในภาพเดียวกัน ดังปรากฏภาพปริศนาธรรม แนวเร่ืองไตรภูมิ ภาพเจดีย์ จุฬามณี บนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ รูปแบบเจดีย์จุฬามณีของศิลป์ไทย กับมัสยิดของศาสนาอิสลาม (ภาพที่ 2-16)
2) การจัดองค์ประกอบศิลป์ให้มีความต่อเน่ืองหลายภาพ ดังปรากฏภาพปฎิจจสมุปบาท ต่อเน่ืองท้ังผนัง เน้นเน้ือหาท่ีมีความสัมพันธ์การเกิดตามเหตุปัจจัย ดังปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมาวาส (ภาพท่ี 2-38) และ ภาพปฎิจจสมุปบาทวัดธารน้าไหล สวนโมกขพลาราม (ภาพท่ี 3-1)
3) การผสมผสานรูปทรงท่ีมีความหมายอีกอย่าง และเปล่ียนความหมายให้เกิดแนวคิดความหมายใหม่ ดังเช่น รูปทรงของช้างในท้องกบ เมื่อนามาผสมผสาน แทรกซึมเข้าหากัน ทาให้เกิดความหมายของกิเลส(ภาพที่ 2-1)
4) การผสมผสานรูปทรง 2 มิติ(จิตรกรรม) สร้างความเป็นเอกภาพของรูปทรง 3 มิติ(ประติมากรรม) เกิดเป็น ความหมายใหม่ ดังปรากฏ การผสมผสานรูปทรงในแต่ละความเช่ือของศาสนานามาประกอบกันด้วย เน้ือหาความศรัทธา การอยู่ร่วมกัน พ่ึงพาอาศัยกันอย่างสันติสุข(ภาพที่ 2-49)
ประเด็นท่ี 4 กํารสังเครําะห์แนวคิดใหม่ แนวเร่ืองอริยสัจจ์ 4 จํากปริศนําธรรมในภําคใต้
การสรุปสัญลักษณ์ของการแสดงออกของรูปทรงในแนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ อบายภูมิ อสุภะ 10 สมุดภาพปริศนาธรรมไทย ภาพแกะสลักไม้ของเชอแมน และสรุปงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท่ีเก่ียวข้อง และการประมวล การสรา้ งสรรคผ์ ลงานของศลิ ปนิ นา มาสงั เคราะหเ์ กดิ การสรา้ งองคป์ ระกอบใหม่ แนวเรอื่ งอรยิ สจั จ์ 4 (ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ) ติดต้ังภายในเจดีย์พุทธคยา รอบที่ 2 ปัญญา นามาซึ่งคนมีส่วนร่วมในผลงานรองรับการถ่ายภาพ สร้างความสัมพันธ์ของ รูปแบบ เน้ือหากับรูปทรง เกิดความเป็นเอกภาพโดยใช้หลักการสรุปผลของศาสตราจารย์สุชาติ เถาทอง ดังน้ี
การสรุปการสังเคราะห์ ความเช่ือถือได้จากการสรุปการสังเคราะห์นั้นมีความจาเป็นต้องแสดงสานวนโวหารและ ชักแม่น้าท้ังห้าเพ่ือเชิญชวนให้ผู้อ่าน ผู้ฟังเกิดการคล้อยตามให้ได้ การได้อาศัยคลังความรู้ทางศิลปะอันเป็นมุมมองและ แนวทางศิลปวิจัย หรือจากการทบทวนวรรณกรรม สารสนเทศจนตกผลึกในสาวัตถะที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยอย่างถึง แก่นข้อมูล หลักฐานจากส่วนทั้งสองส่วนจะช่วยให้การสรุปการอภิปรายผลที่เป็นเหตุผล ให้มีน้าหนักอย่างสอดคล้องกันไป กับข้อค้นพบความรู้และองค์ความรู้ (สุชาติ เถาทอง, 2559 : 238) ซึ่งจากการใช้กระบวนการแนวคิดเชิงสังเคราะห์ตามแนว บันได 7 ขั้นของศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ ทาให้เกิดแนวคิดใหม่ ความหมายใหม่ท้ัง 2 ชุดผลงาน ดังน้ี
215