Page 226 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 226

  ชุดท่ี 1 “ทุกข์และทุกขสมุทัย” ใช้แนวคิดเชิงสังเคราะห์ของ ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ และ แนวคิดการสร้างสรรค์ผลงานจากศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ด้วยการสร้างผลงานจากนามธรรมสู่รูปธรรม ผลงานจะต้อง แสดงอารมณ์ความรู้สึกและมีจินตนาการ โดยการสร้างผลงานแสดงถึงท่ีมา ท่ีเป็น ท่ีไป และการใช้ทฤษฎีการแสดงออก ซ่ึงอารมณ์ของโคเช่ และซันตายานา ด้วยการแสดงออกของการผสมผสานสีรูปทรง โดยการจัดสรรองค์ประกอบใหม่ ให้เกิดความเป็นเอกภาพของรูปทรงกับเนื้อหาของผลงาน และดึงดูดความสนใจกับคนดูในการมีส่วนร่วมกับผลงานและ เป็นส่วนหนึ่งของผลงานในการถ่ายภาพ และเข้าไปอยู่ในบรรยากาศของผลการท้ังในหนึ่งภาพ และทั้งหมดของภาพที่ ต่อเนื่องสัมพันธ์กับอารมณ์ความรู้สึกในผลงาน(ภาพท่ี 4-14)
ชุดท่ี 2 “ทุกนิโรธและทุกขนิโรธคํามินีปฏิปทํา” ใช้แนวคิดเชิงสังเคราะห์ของศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ในการสังเคราะห์ผลงาน ผสมผสานแนวคิดทฤษฎีของศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี และขรัว อินโข่ง ในการ เปลยี่ นแปลงรปู ทรงเปน็ เชงิ สญั ลกั ษณ์ เนอื้ หาทางพทุ ธศาสนานา มาสงั เคราะหอ์ งคป์ ระกอบใหม่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพของ รูปทรงและเนื้อหาท่ีแฝงนัยของรูปทรงทุกภาพ และการใช้ทฤษฎีแสงเงาของศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ในการแสดงออก ที่เป็นรูปธรรมให้เกิดความงาม บรรยากาศ แสง สี อารมณ์ความรู้สึก ทางทัศนธาตุ เกิดเป็นเอกภาพในอารมณ์ ความรู้สึก ถึงความสงบด้วย สี และแสง-เงา และความทุกข์ของกิเลส ด้วยแสง-เงา สีสัน สีโทนร้อน แดง ส้ม น้าตาล เป็นต้น และ เทคนิคที่นามาใช้ท้ัง 2 ชุด ของแนวคิด อิมเพรสช่ันนิสม์ ด้วยการนาเอาแสง สี มาใช้เพื่อสร้างบรรยากาศตามกาลเวลาท่ีแสง สาดสอ่ งตามความเปน็ จรงิ ของธรรมชาติในภาพใหเ้กดิ ความเปน็ 3มติ ิและเพม่ิ ความเปน็ นวตั กรรมของเทคโนโลยขี องแสง จากไฟนีออนเพ่ือสร้างบรรยากาศท่ีสมบูรณ์ ของอารมณ์ความรู้สึก ของรูปทรงและเนื้อหาและโครงสร้างของแสง-เงา ให้มี ความสัมพันธ์กันกับการมีส่วนร่วมของคน และการนาแนวความคิดของลัทธิอิมเพรสชั่นนิสม์ มาเป็นแนวทางในการพัฒนา ผลงาน (ภาพท่ี 4-17)
ส ร ปุ ก า ร ส งั เ ค ร า ะ ห ภ์ า พ ป ร ศิ น า ธ ร ร ม ท า ง พ ร ะ พ ทุ ธ ศ า ส น า แ น ว เ ร อื ่ ง อ ร ยิ ส จั จ ์ 4 ป ร ะ ก อ บ ด ว้ ย 1 ) ท กุ ข ์ ( ค ว า ม ท กุ ข ,์ สภาวะบีบค้ัน) 2) ทุกขสมุทัย (เหตุเกิดแห่งทุกข์, สาเหตุให้ทุกข์เกิด) 3) ทุกขนิโรธ (ความดับทุกข์) และ 4) ทุกขนิโรธคํามินี ปฏิปทํา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) ซึ่งล้วนเป็นสาระธรรมในการเห็นทุกข์และทางดับทุกข์ และการปฏิบัติสู่ความสุข และผลงานได้สร้างปฏิสัมพันธ์กับคนมีส่วนร่วมในผลงาน เกิดการรับรู้ปริศนาธรรมทางพระพุทธศาสนาในสังคมปัจจุบัน เปน็ การยกระดบั จติ ใจ และสามารถนา ไปใชใ้ นชวี ติ ประจา วนั และเปน็ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วทางพทุ ธศาสนาทส่ี า คญั ของวดั ปญั ญา นันทาราม จังหวัดปทุมธานี และเป็นการสืบสาน อนุรักษ์ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และเป็นศูนย์รวมจิตใจ เกิดคุณธรรม จริยธรรมอันดีงามและเป็นการประสานสัมพันธ์ระหว่างวัดในชุมชน สังคมท่ีย่ังยืน สอดคล้องกับโครงสร้างการสังเคราะห์ แนวคิดใหม่ท้ัง 2 ชุด (ภาพที่ 4-7 และภาพที่ 4-8)
ประเด็นท่ี 5 กํารสร้ํางนวัตศิลป์ใหม่ ทําให้เกิดผลต่อกํารรับรู้ภําพปริศนําธรรมท่ีดีข้ึน
นวัตศิลป์ภาพปริศนาธรรม แนวเรื่องอริยสัจจ์ 4 (ความจริงอันประเสริฐ)ทั้งหมด 24 ภาพ ติดตั้งภายในเจดีย์ พทุ ธคยา วดั ปญั ญานนั ทาราม เกดิ จากการพฒั นาภาพปรศิ นาธรรมทม่ี อี ยเู่ ดมิ 2 มติ ิ ใหท้ นั สมยั รบั กบั การถา่ ยภาพดว้ ยการ สังเคราะห์องค์ประกอบใหม่เกิดภาพ 3 มิติและมีความเป็นวิทยําศําสตร์ (การแก้ปัญหาการรับรู้ภาพปริศนาธรรมที่ดีข้ึน)
  216
          




























































































   224   225   226   227   228