Page 34 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 34

  รูปแบบศิลปวัฒนธรรมศําสนําพรําหมณ์และชวําในภําพปริศนําธรรม
ชาวอินเดียเข้ามาอาศัยในคาบสมุทรภาคใต้ตรงกับระยะแรกท่ีมีการค้าขายกับชาวจีนชาวอินเดียได้ยึดครอง ควบคุมการค้าท้ังในส่วนภูมิภาคและการค้าต่างประเทศได้ต้ังศูนย์การค้าในแหล่งชุมชนพื้นเมืองกลายเป็นเมืองริมฝั่งทะเล ทสี่ า คญั และไดน้ า วฒั นธรรมเขา้ มาเผยแพรเ่ ปน็ ระบบกษตั รยิ ต์ ามแบบอยา่ งของวฒั นธรรมอนิ เดยี ไดก้ ลายเปน็ ตวั การในการ สร้างสรรค์ศิลปะซึ่งมีพ้ืนฐานของศิลปะอินเดียเป็นต้นแบบ (พิริยะ ไกรฤกษ์, 2523: 23 – 24)
ชาวอินเดียจากแคว้นกุจารัต เข้าสู่ดินแดนชวา – มลายูและไทยภาคใต้ตอนล่าง ราวพุทธศตวรรษที่ 5 จนถึง ปีพุทธศักราช 621 วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีอินเดียมีอิทธิพลต่อชวาท้ังระบบกษัตริย์ ระบบบรรพชน การจัดระเบียบองค์กรทหาร ดนตรี นาฏศิลป์ เกษตรกรรม ศาสนาและพิธีกรรม วรรณคดีท่ีเน่ืองมาจากมหากาพย์ เรื่อง รามายณะ เป็นต้น จนเกิดเป็นอาณาจักรแห่งวัฒนธรรมศรีวิชัยเจริญเต็มที่ซึ่งมีวัฒนธรรมฮินดูและพุทธมหายานเป็นแกน (สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์และคณะ, 2543: 27 – 28) ดังปรากฏภาพจิตรกรรมฝาผนังท่ีช่างเขียนภาพตัวละครในวรรณคดี เร่ือง รามายณะ ซ่ึงเป็นวรรณกรรมของอินเดียที่อธิบายถึงปริศนาธรรม เรื่องความเช่ือในความดีกับความชั่ว ดังเช่น การเขียนภาพตัวละครฝ่ายไม่ดี ของภาพยักษ์ ในจิตรกรรมฝาผนังปรากฏเป็นภาพเหล่าทหารพญามารในฉากพุทธประวัติ ตอนมารผจญ – ชนะมาร ในพระอุโบสถวัดสุนทราวาส วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร เป็นต้น และการเขียนภาพตัวละครฝ่ายดี เช่น หนุมาน นิลพัทรตัวละครในเรื่องรามเกียรต์ิพนมมือถือดอกไม้สักการะองค์เจดีย์บนเสาภายในวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช และนามาถ่ายทอดในตัวหนังในการแสดงหนังตะลุงของภาคใต้ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากศิลปะชวา ซ่ึงมีความเชื่อจากการได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมและท้องถิ่นต่อมาได้รับอิทธิพลศิลปะในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู และพุทธศาสนาและศาสนาอิสลามตามลาดับ
จะเหน็ ไดช้ ดั จากวฒั นธรรมฮนิ ดแู ละชวา – มลายู ดงั เชน่ วฒั นธรรมทเี่ กยี่ วกบั กรชิ ซงึ่ กา เนดิ ชวาแตม่ คี ตคิ วามเชอื่ ลัทธิไศวนิกายของฮินดูซึ่งสะท้อนถึงคติความเช่ือของวัฒนธรรมฮินดูผสมกับวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างพิสดารและขนบนิยม การเชดิ หนงั ตะลงุ ในภาคใตข้ องหนงั ชวาและความเชอื่ เรอื่ ง เขาพระสเุ มร(ุ กหุ นงุ )ปรากฏในการแหห่ มรฺ บั บายศรเี ปน็ สญั ลกั ษณ์ โลกแทนเขาพระสเุ มรุ เรอื กอและเรอื พระ เมรเุ ผาศพและโลงศพความเชอื่ เกยี่ วกบั ตา นานการสรา้ งโลกและจกั รวาล เปน็ ตน้ (สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์และคณะ, 2543: 29) ดังปรากฏวัฒนธรรมการเหน็บกริชของชาวบ้านภาคใต้ในจิตรกรรมฝาผนัง วัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา ภาพการหามโลงศพและรูปแบบของโลงศพในจิตรกรรมฝาผนังวัดชลธาราสิงเห จังหวัด นราธิวาส (ภาพที่ 1-11) ภาพชาวบ้านแห่หมฺรับในจิตรกรรมฝาผนังวัดวัง จังหวัดพัทลุง ตามความเช่ือของการผสมระหว่าง คติพราหมณ์และศาสนาพุทธท่ีโดดเด่น คือ ความเช่ือจักรวาลแสดงออกของรูปแบบของศิลปวัฒนธรรมฮินดูและชวาอันมี เอกลักษณ์โดดเด่นภาพปริศนาธรรมแนวเร่ือง ไตรภูมิ ของภาคใต้
  24
          





























































































   32   33   34   35   36