Page 36 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 36

  ลวดลายพันธ์พฤกษาและการแต่งกาย และการเขียนภาพรูปแบบของมัสยิดของศาสนาอิสลามผสมผสานกับเจดีย์ของ ศาสนาพุทธท่ีแสดงถึงความเช่ือว่าพระเป็นเจ้าจะอยู่ทุกที่ช่ัวนิรันดร์ เกิดเป็นความเป็นเอกภาพของ 2 ศาสนาเป็นภาพ เจดีย์จุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
รูปแบบศิลปะท้องถิ่นภําคใต้ในปริศนําธรรม
เป็นรูปแบบการแสดงออกท่ีเด่นชัดในจิตรกรรมฝาผนังที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ินภาคใต้ ตามความเช่ือ ในพระพุทธศาสนากับประเพณีท้องถ่ิน ท้ังท่ีเป็นประเพณีตามนักขัตฤกษ์ เช่น ประเพณีทาบุญเดือนสิบ และประเพณี สืบเนื่องมาจากคนตาย คือญาติจะพากันไปทาบุญบังสุกุล เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ตาย เนื่องจากความเชื่อความผูกพันกับ พุทธศาสนา (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529: 3453) ดังปรากฏภาพปริศนาธรรมแนวเร่ืองไตรภูมิ ที่แสดงถึงความเช่ือ ที่มีต่อการแสดงละครเป็นมายาเรื่องหลอกลวง จึงได้รับผลกรรมตกนรก ช่างแสดงออกด้วยรูปแบบภาพการรามโนราห์ใน นรกภูมิไฟลุกท่วมตามตัว การแต่งตัว ท่าร่ายรา แสดงการละเล่นของประเพณีท้องถิ่นภาคใต้ ซ่ึงปรากฏภาพดังกล่าวเป็น ส่วนหน่ึงของภาพไตรภูมิ บริเวณผนังด้านหลังพระประธาน วัดสุวรรณคีรี จังหวัดสงขลา (ภาพท่ี 1-13)
ภําพที่ 1-13 ภาพท่าร่ายรามโนราห์จิตรกรรมฝาผนังวัดสุวรรณคีรี จังหวัดสงขลา
       26
          





























































































   34   35   36   37   38