Page 35 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 35

  รูปแบบศิลปวัฒนธรรมอิสลํามในปริศนําธรรม
หลกั ฐานของชาวมสุ ลมิ ในประเทศไทยอยา่ งนอ้ ย ในสมัยสุโขทัยมีอยู่แล้วและยิ่งชัดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังเรื่องราวชาวมุสลิมเปอร์เซียซึ่งเป็นคู่แข่งสาคัญทาง การค้าและการเมืองกับฝรั่งที่เข้ามาในดินแดนไทยใน ภายหลังมีระบุอยู่ในบันทึกของคณะทูตเปอร์เซียท่านหน่ึง ท่ีมาสู่ราชสานักของสมเด็จพระนารายณ์วัฒนธรรมมุสลิม มีรกรากในดินแดนไทยมานานมีความเป็นเลิศด้านงาน ลวดลายประดับทดแทนข้อต้องห้ามสร้างรูปเคารพ เสน่ห์ ของลวดลายประดับแบบมุสลิมบางชนิดถูกยืมเข้าผสม กลมกลนื จนเปน็ ลวดลายประดบั ในวฒั นธรรมไทยอยา่ งแทบ สังเกตไม่ได้ (สันติเล็กสุขุม, 2548: 14)
ลักษณะศิลปะอิสลามจะไม่มีรูปเคารพไม่ว่าด้าน จติ รกรรมหรอื ประตมิ ากรรมทงั้ นเี้ ปน็ ไปตามบทบญั ญตั ทิ าง ศาสนาท่ีห้ามจาลองบุคคลเพื่อการเคารพจึงไม่ปรากฏภาพ พระอัลเลาะฮ์หรือมูฮัมมัด ด้วยเหตุนี้ศาสนาอิสลามจึงไม่มี รูปแบบเคารพบูชาลวดลายจะไม่ปรากฏรูปคน รูปสัตว์ แต่ใช้ลวดลายอื่น เช่น ลายพันธ์พฤกษา ลายเรขาคณิต ลายอักษรอาหรับ ลวดลายเหล่าน้ีส่วนใหญ่ปรากฏตาม มัสยิด เครื่องปั้นดินเผา พรมและศิลปะหัตกรรมอื่นๆ (ปัญญา เทพสิงห์, 2548: 122) ดังปรากฏภาพลวดลาย พรรณพฤกษา ลายเรขาคณิต บริเวณเสาอุโบสถวัดชลธารา สิงเห เพื่อเป็นการบันทึกประวัติศาสตร์ สังคม สัญลักษณ์ การอยู่ร่วมกันของผู้คนและเป็นตัวแทนของศาสนาอิสลาม ในพื้นท่ีภาคใต้ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่ร่วมกันของความ หลากหลายศาสนาโดยเฉพาะจังหวัดปัตตานี นราธิวาส และสงขลา และภาพปริศนาธรรมแนวเร่ืองไตรลักษณ์ ที่แสดงออกถึงการตายด้วยภาพพิธีแห่เจ้าเซ็นผู้นาศาสนา อิสลามในจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมาวาส (ภาพที่ 1-12) ที่ช่างเขียนภาพรูปแบบที่ลักษณะเฉพาะด้วยการตกแต่ง
ภําพที่ 1-11 จิตรกรรมฝาผนังวัดชลธาราสิงเห นราธิวาส
     ภําพที่ 1-12 ภาพพิธีแห่งเจ้าเซ็นผู้นาศาสนาอิสลาม
    25
            




























































































   33   34   35   36   37