Page 55 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 55

  ควํามเชื่อในสมัยรัชกําลที่ 4 คือ ธรรมยุตินิกาย จะให้ความสาคัญกับการตีความพระพุทธศาสนาในรูปแบบใหม่ โดยอาศัยหลักเหตุผลนิยม สัจนิยม และมนุษยนิยม เน้นการปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับพระวินัยเป็นอย่างยิ่ง โดยมุ่งศึกษาจาก คัมภีร์เดิมแท้ หรือพระไตรปิฎกมากกว่าคัมภีร์ประเภทอื่น ๆ หรือคัมภีร์อรรถต่าง ๆ หลักปฏิบัติธรรมของกลุ่มธรรมยุติ นกิ ายทแ่ี พรห่ ลายมาสหู่ วั เมอื งภาคใต้ ไดร้ บั การยอบรบั นบั ถอื จากชาวใตไ้ มน่ อ้ ย แมว้ า่ ลกั ษณะนสิ ยั สว่ นใหญข่ องชาวใตจ้ ะมี ความอนุรักษ์นิยมค่อนข้างสูง แต่คนภาคใต้ที่บวชเรียนถือเพศบรรพชิตเป็นพระภิกษุนิยมการปฏิบัติธุดงควัตร เดินทาง สั่งสอนผู้คนตามท่ีต่างๆ มากกว่าการอยู่เทศนาทาพิธีกรรมในชุมชนเมือง (อมรา ศรีสุชาติ, 2544: 173)
ควํามเช่ือเร่ืองกฎแห่งกรรมของชําวภําคใต้ จะเช่ือมโยงกัน 3 จุด คือ อดีตชาติ – ปัจจุบันชาติ – อนาคตชาติ กล่าวคือ เชื่อว่าวิถีชีวิตและผลกรรมที่เป็นอยู่ปัจจุบันน้ันเป็นผลมาจากผลกรรมในอดีตชาติและผลกรรมที่ทาปัจจุบันชาติ ถ้ายังไม่ให้ผลทันตาในชาติน้ี จะส่งผลไปถึงอนาคตชาติ น่ันคือ ถ้าทาดีจะได้เกิดในสวรรค์เป็นเทพท่ีพรั่งพร้อมด้วยทิพย สมบตั นิ านาประการ ถา้ ทา ชวั่ จะไดไ้ ปตกนรกหมกไหมใ้ หไ้ ดร้ บั ทกุ ขเ์ วทนาแสนสาหสั (สถาบนั ทกั ษณิ คดศี กึ ษา, 2529: 7391) จากความเช่ือดังกล่าวปรากฏภาพชายเข็ญใจเก็บดอกบัวในสระบัวให้กับพระมาลัย (ถือตาลปัตรข้างสระบัว) เพ่ือนาไป ถวายเป็นพุทธบูชาเจดีย์จุฬามณี ณ สวรรค์ช้ันดาวดึงส์ เพื่อบุญกุศลในภพหน้าจะได้เกิดในสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ซึ่งเป็นตอน ท่ีนิยมนามาเขียนในงานจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ โดยเฉพาะงานจิตรกรรมในสมุดข่อยหรือหนังสือบุดอย่างแพร่หลาย
ความเชื่อในการทาบุญของชาวใต้ เน้นท่ีการให้ทาน การไปวัด ฟังเทศน์การเมตตากรุณาแก่สัตว์ การสร้าง ของถวายเป็นสมบัติวัด การสร้างส่ิงท่ีเป็นสาธารณะประโยชน์ตลอดจนหม่ันบูชาพระรัตนตรัย เป็นเหตุให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และเป็นทางสู่สวรรค์ หรือไปเกิดในยุคพระศรีอริยเมตไตรย (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529: 7392) จงึ ปรากฏการเขยี นภาพชาวบา้ นไปทา บญุ ฟงั เทศน์ สรา้ งสาธารณะประโยชน์ ตามความเชอื่ ดงั กลา่ วแทบทกุ วดั ในภาคใต้ เชน่ วัดจะทิ้งพระ วัดชลธาราสิงเห เป็นต้น
ควํามเชื่อในวรรณกรรมท้องถ่ิน“ลิงขําว-ลิงดํา” แสดงถึงคติความเช่ือเรื่องความดีความช่ัวที่แฝงนัยปริศนา ธรรมเอาไว้ คือ ลิงขาว – ลิงดา หมายถึง ความดี – ความช่ัวและกุศล – อกุศล นอกจากน้ียังแสดงถึงการให้ความสาคัญ ต่อการกตัญญูต่อครูบาอาจารย์ของลูกศิษย์ อันเป็นวัฒนธรรมท่ีดีงามของชาวท้องถิ่นภาคใต้ท่ีถือปฏิบัติสืบต่อกันมา (นิพัทธ์ เพ็งแก้ว, 2543: 248 – 249) ซึ่งภาพเขียนวรรณกรรมท้องถิ่นเป็นส่วนหน่ึงท่ีควบคุมสังคมให้ดาเนินไปในทาง ที่ถูกต้องและดีงาม การเล่นหนังตะลุงของภาคใต้ในอดีตจะมีการออกลิงหัวค่าหรือการเชิดลิงขาวกับลิงดา เป็นธรรมเนียม อย่างหนึ่ง มีฤๅษีอยู่ตรงกลางลิงขาวกับลิงดาอยู่คนละข้าง แต่ปัจจุบันได้เลิกแล้ว เพราะฉะน้ันวรรณกรรมลิงขาวกับลิงดา ที่ปรากฏบนจิตรกรรมฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมาวาส จึงมีพ้ืนฐานมาจากการเล่นหนังตะลุงมหรสพที่เป็นเอกลักษณ์ของ ชาวภาคใต้ซ่ึงเป็นภาพแทรกอยู่ในจิตรกรรมฝาผนังภาพปริศนาธรรมวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา
ควํามเช่ือในวรรณกรรมเร่ืองรํามเกียรติ์หรือรํามยณะ เป็นสงครามมนุษย์กับยักษ์ เปรียบได้เป็นสังคมความดี และความชั่ว (สมชาติ มณีโชติ, 2529: 110-112) เป็นที่นิยมของช่างนามาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญในภาพจิตรกรรม ฝาผนงั ดงั เชน่ ภาพตวั ละคร ไดแ้ ก่ นลิ พทั ร มจั ฉานุ เปน็ ตน้ โดยชา่ งนา ภาพดงั กลา่ วมาวาดแบกฐานพระพทุ ธรปู เพอื่ เปน็ การ แสดงถึงความสัมพันธ์กันของความเช่ือในศาสนาพราหมณ์กับพุทธศาสนา
  45
          




























































































   53   54   55   56   57