Page 56 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 56
ควํามเชอื่ ทอ้ งถนิ่ ภําคใต้มคี วามเชอื่ การเวยี นวายตายเกดิ ของศาสนาพทุ ธเปน็ หลกั ผสมผสานกบั ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีด้ังเดิมของท้องถิ่นภาคใต้ ดังปรากฏการเขียนภาพการเผาศพแบบสามส้างของคนในภาคใต้ด้วยภาพกาลังใช้ไม้ เข่ียไฟใต้วัตถุทรงส่ีเหล่ียม ซ่ึงวางอยู่ในประราพิธี ซ่ึงเป็นบุคลาธิษฐานให้ผู้ท่ีไปเผาศพหรือผู้คนท่ีเห็นภาพแล้วได้เตือนสติ ตนให้เข้าใจในการเกิดดับของสังขาร
ควํามเชอ่ื ในศลิ ปะจนี โดยเฉพาะศาสนาฝา่ ยมหายานซงึ่ รบั อทิ ธพิ ลจากอนิ เดยี ชาวจนี มคี วามเชอื่ ดงั้ เดมิ เกยี่ วกบั สวรรค์ ดวงวิญญาณและบูชาบรรพบุรุษ เม่ือพุทธศาสนาเข้ามาหล่อหลอมรวมกับศิลปะจีนจึงเป็นผลสะท้อนจาก ความเชอื่ สวรรค์ ดวงวญิ ญาณ การบชู าบรรพบรุ ษุ ทงั้ ลทั ธเิ ตา๋ ขงจอื้ และพทุ ธศาสนาฝา่ ยมหายาน (สนั ติ เลก็ สขุ มุ , 2554: 195) จากความเชื่อท่ีสอดคล้องกับแนวเรื่องไตรภูมิ ดังกล่าวช่างจึงวาดภาพการบูชาฮวงซุ้ยบรรพบุรุษตามความเช่ือด้ังเดิม ของชาวจีนเพ่ือความเป็นสิริมงคลเจริญงอกงามและแสดงถึงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ
ควํามเช่ือในศําสนําอิสลําม ช่างเขียนภาพขบวนแห่ศพเจ้าเซ็นเป็นพระศพผู้นาในศาสนาอิสลาม นิกายซีอะห์ เปน็ การบนั ทกึ เรอื่ งราวพธิ กี รรมเนอื่ งในความตาย เปน็ บคุ คลหนงึ่ ในหา้ อนั เปน็ ทเี่ คารพของผนู้ บั ถอื นกิ ายซอี ะห์ (ประยรู ศกั ด์ิ ชลายนเดชะ, 2539) จะตกแต่งขนวนอย่างสวยงามสาวกในขนวนต่างมีเลือดโทรมกาย อันเกิดจากการกรีดศีรษะหรือ ทารุณกรรมตนเองตามความเช่ือซึ่งเป็นส่วนประกอบของพิธีกรรม ช่างได้วาดภาพจาลองและบันทึกความเช่ือในพิธีกรรม ดังกล่าวไว้อันเป็นการแสดงถึงความสาคัญและความภาคภูมิใจของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามในจังหวัดสงขลาและภาคใต้
ความเชอื่ ของศาสนาในแตล่ ะนกิ ายทงั้ 3 ซงึ่ เปน็ พธิ กี รรม เนอื่ งในความตายตามแนวเรอ่ื งไตรลกั ษณ์ ชา่ งจะวาดไว้ ผนงั เดยี วกนั ซงึ่ จะใหค้ วามสา คญั และบอกเลา่ ถงึ การอยรู่ ว่ มกนั ของทงั้ 3 ศาสนาในชมุ ชน สงั คมตามความเชอื่ ของวฏั สงสาร การเวียนว่ายตายเกิดเพื่อให้เกิดความสามัคคี ลดความขัดแย้งเกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในชีวิตและสังคมภาคใต้
สรุปได้ว่ําภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ ที่ส่ือแสดงถึงหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าและ ความเช่ือความศรัทธาต่อพุทธศาสนาของชาวบ้านโดยการสร้างวัดในชุมชนและเขียนภาพปริศนาธรรมที่แสดงถึงความเช่ือ ความศรัทธาต่อพุทธศาสนาและการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ดังเช่น เรื่องทศชาติชาดก ตอนพระเวสสันดรชาดก เป็นการ เสวยพระชาตพิ ระโพธสิ ตั วข์ องการทานบารมอี นั ยงิ่ ใหญ่ และนา ไปสกู่ ารจตุ เิ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ดงั ปรากฏภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั คเู ตา่ และการวาดภาพทสี่ อดคลอ้ งกบั ความเชอื่ ในเรอื่ งกฎแหง่ กรรมทมี่ จี ดุ เชอื่ มโยงกนั 3 จดุ คอื อดตี ชาติ – ปจั จบุ นั ชาติ – อนาคตชาติผสมผสานกับการแสดงถึงคติความเชื่อของท้องถิ่นภาคใต้ ของวัดจะทิ้งพระโดยการวาดภาพชาวบ้านไปวัด เพ่ือทาบุญ และเพ่ือฟังเทศน์ เป็นการสะสมบุญเพ่ืออนาคตชาติของวัดป่าศรี สอดคล้องแนวเร่ืองไตรภูมิ และวัดวังวาดภาพ การทา บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหก้ บั บรรพบรุ ษุ อนั เปน็ ความเชอ่ื ในพทุ ธศาสนาตามประเพณที อ้ งถนิ่ เชน่ ชา่ งจะวาดภาพประเพณี การทาบุญเดือนสิบแทรกในภาพพุทธประวัติวัดวัง เพราะมีความเชื่อในการอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้กับผู้ตายเป็นต้น
46