Page 58 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 58

  วิเครําะห์สรุป
ภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรฝาผนังของภาคใต้ สมัยศิลปะรัตนโกสินทร์ มีปรากฏเด่นชัดในรัชกาลท่ี 4 วัดโพธิ์ ปฐมาวาส ซ่ึงช่วงรัชกาลท่ี 1-3 จะนิยมเขียนภาพพุทธประวัติ ทศชาดก และภาพวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ ดังปรากฏในวัด ท่ีเขียนข้ึนในช่วงรัชกาลที่ 3 ดังเช่น วัดโพธ์ิปฐมาวาส วัดวัง วัดสุวรรณคีรี วัดสุนทราวาส เป็นต้น โดยแทรกหลักธรรม คาสอนของพระพุทธเจ้าไว้ในภาพเหล่าน้ี ซ่ึงเป็นแบบอย่างการเขียนภาพแบบอุดมคติ และมาเปล่ียนแปลงเป็นรูปแบบ ความเปน็ จรงิ มากขนึ้ ตามลา ดบั ตงั้ แตส่ มยั รชั กาลที่ 4 วดั โพธปิ์ ฐมาวาส จนถงึ รชั กาลท่ี 9 ดงั ปรากฏทวี่ ดั ธารนา้ ไหล สวนโมก ขพลาราม ของท่านพุทธทาสภิกขุ ซึ่งเลือกแสดงออกบางช่วงบางตอนของหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า แต่มีรูปแบบ ที่หลากหลายในการแสดงออก ดังเช่น พราหมณ์ อิสลาม ตะวันตก จีน แต่มีแก่นแกนสาระสาคัญคือ พระพุทธศาสนา และ ความเชื่อของคนในท้องถิ่นภาคใต้ และมีเทคนิคเชิงช่างตามแบบแผนช่างหลวง โดยเฉพาะตามแนวทางของขรัวอินโข่ง ผู้ท่ีริเร่ิมการสร้างสรรค์ผลงานภาพปริศนาธรรมตามแบบตะวันตกในอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหารแนวเร่ืองพระรัตนตรัย (พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์) มีการวาดภาพส่วนประกอบต่างๆ ตามความเป็นจริงของธรรมชาติ ซึ่งขรัวอินโข่ง เป็น จิตรกรความคิดก้าวหน้า พยายามจะรับหลักทัศนียวิทยาจากตะวันตก แต่ตอนนั้นตัวท่าน และจิตรกรไทยท้ังหมดยังขาด พนื้ ฐานแบบตะวนั ตก การแสดงออกของเนอื้ หาสาระทปี่ รากฏในภาคใต้ ทงั้ รปู แบบชา่ งหลวงภาคกลาง และชา่ งทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ ดังเช่น แนวเร่ืองธุดงค์ 13 อสุภะ10 อริยสัจจ์ 4 ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ ปฏิจจสมุปบาท วรรณคดีรามายณะ และวรรณกรรม ทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายมเี ปา้ หมายตามคตคิ วามเชอื่ ของพระพทุ ธศาสนา ชใี้ หเ้ หน็ ถงึ การทา ความดี ทา ชวั่ อนั เปน็ ผล จากการกระทา ซ่ึงสอดคล้องกับหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา ซ่ึงจากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว แสดงการ เช่ือมโยงการแสดงออกของเน้ือหาสาระ และรูปทรงของภาพปริศนาธรรมของท้ังช่างหลวงภาคกลาง และภาคใต้ มีท่ีมา ในการนาศิลปะรับใช้พระพุทธศาสนา ซึ่งมีแนวคิดเหมือนกัน เป็นข้อมูลที่จะนาไปสู่การสร้างสรรค์ด้วยองค์ประกอบใหม่ จินตภาพสมมติ และสร้างสรรค์ภาพปริศนาธรรม ติดต้ังรอบที่ 2 ปัญญา ณ วัดปัญญานันทาราม แนวเร่ือง อริยสัจจ์ 4 ความจริงอันประเสริฐ เพื่อให้ผู้คน สังคม ได้ศึกษาเรียนรู้หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าได้ง่ายตามยุคสมัยท่ีนิยม การถ่ายภาพ และดึงดูดความสนใจในการรับรู้ อันจะนาไปสู่การพัฒนายกระดับทางจิตวิญญาณ และสามารถนาไปใช้ ในวิถีชีวิตประจาวันต่อไป อันประกอบด้วย ความงาม ความดี และความจริง
   48
          































































































   56   57   58   59   60