Page 60 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 60

  2554: 64) ซ่ึงปรากฏรูปแบบดังกล่าวในการเขียนภาพปริศนาธรรมด้วยการผสมผสานกันแทบทุกพ้ืนที่ของภาพจิตรกรรม ฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมมาวาส เพราะเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อท่ีศิลปะตะวันตกเข้ามาและมีความนิยมของศิลปะจีนอยู่แล้ว และยังรักษารูปแบบประเพณีไทยให้ดารงไว้ ตามแบบแผนช่างหลวงภาคกลางที่กระทากันมาซึ่งมีความอิสระในการ จัดองค์ประกอบภาพ ดังปรากฏรูปแบบภาพปริศนาธรรมแนวเร่ืองไตรภูมิในจิตรกรรมฝาผนัง ดังนี้
บริเวณผนังด้านหลังพระประธาน แสดงภาพนรกภูมิ ส่วนหนึ่งของไตรภูมิโดยแบ่งพื้นท่ีออกเป็น 3 ส่วน มีภาพ ภูเขาค่ันกลางระหว่างขุมนรก ช่างมีรูปแบบการเขียนให้แตกต่างกัน เพ่ือแสดงถึงนรกในภูมิต่าง ๆ โดยรวบรวมนรกในแต่ ละขุมให้อยู่ในพ้ืนที่เดียวกันกับรูปแบบการเขียนภาพสัตว์นรกมีลักษณะใกล้เคียงกับตัวหนังตะลุงของภาคใต้ โดยฝีมือ ช่างท้องถ่ิน การจัดวางองค์ประกอบของภาพนรกภูมิ จะมีลักษณะใกล้เคียงกับงานจิตรกรรมภาพนรกท่ีปรากฏในหนังสือ บุดของภาคใต้
ช่างออกแบบให้มีเน้ือหาจบในแต่ละช่องภาพ เนื้อหาแต่ละภาพผนังด้านทิศเหนือ (ด้านขวาพระประธาน) ไม่ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน แต่ละภาพจะมีความหลากหลายของฝีมือช่าง ประกอบด้วย ฝีมือช่างหลวง ช่างท้องถิ่น และรูปแบบ ช่างจีน มีรายละเอียดดังน้ีส่วนบนเหนือกรอบประตู-หน้าต่างเป็นซุ้มพระพุทธรูปปางมารวิชัย ด้านข้างซุ้มวาดภาพ เทพชมุ นมุ พนมมอื สกั การะทงั้ 2 ขา้ ง คนั่ แตล่ ะซมุ้ ดว้ ยตน้ ไผ่ สว่ นบนสดุ เหนอื กรอบซมุ้ เขยี นภาพดอกไมร้ ว่ งบนพน้ื ขาว ระหวา่ ง กรอบหน้าต่างเร่ิมจากผนังด้านซ้ายเขียนภาพธุดงค์ 13 เป็นภาพระเบียบปฏิบัติของพระสงฆ์ตอนบังสุกุลิกังคธุดงค์ และ ภาพคนสู้รบกันมีการแต่งกายผ้านุ่งลวดลายแตกต่างหลายเช้ือชาติและหลายวัฒนธรรมสันนิษฐานว่าเป็นช่างท้องถิ่น แสดงถึงการเปรียบเทียบของการต่อสู้ทางวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย ต่อด้วยภาพอมนุษย์ และภาพชาดกตอนชายเข็ญใจ กาลังเก็บดอกบัวสันนิษฐานว่าเป็นช่างฝีมือช่างหลวงสังเกตจากการเขียนเส้นที่ประณีตงดงามและมีการเขียนต้นไม้ ตามความนิยมแบบจีนแต่มีการตัดเส้นตามรูปแบบช่างไทย เช่น ต้นไม้ต่าง ๆ ที่ข้ึนรอบสระน้า ต้นไม้ทรงบอนไซและการ ใชส้ ขี องดอกไมใ้ บไมต้ ามแบบลวดลายถว้ ยชามของจนี ตามรปู แบบศลิ ปะจนี ตอ่ ดว้ ยภาพชาวบา้ นกา ลงั ฟงั เทศนจ์ ากพระสงฆ์ เป็นภาพสุดท้าย ท่ีมีความพิเศษของภาพในผนังนี้คือช่างจะมีรูปแบบการเขียนภาพปริศนาธรรมแนวเร่ือง ไตรลักษณ์ ดว้ ยภาพหญงิ ชราตามลกั ษณะความเปน็ จรงิ ของสภาพสงั ขาร โดยแสดงความเหยี่ วยน่ ของใบหนา้ และรา่ งกายหลงั ทคี่ อ่ มลง จนตอ้ งถอื ไมเ้ ทา้ และหนา้ อกทหี่ ยอ่ นยานออกมานอกสไบแสดงใหเ้ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ลแนวคดิ วธิ กี ารเขยี นภาพเหมอื นจรงิ ตามแบบ ศิลปะตะวันตกซ่ึงผนังด้านนี้จะมีรูปแบบการแสดงออกทั้งอิทธิพลศิลปะตะวันตก ศิลปะจีนและศิลปะไทยประเพณีดั้งเดิม อันเป็นลักษณะเฉพาะและพิเศษของจิตรกรรมแนวประเพณีรัชกาลท่ี 4
ลักษณะพิเศษของจิตรกรรมสมัยรัชกาลท่ี 4 คือ เริ่มมีลักษณะเป็นภาพเหมือนจริงมีแสงเงามีความลึกแบบ ทัศนียวิสัย (Perspective) เป็นรูปแบบสมัยใหม่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมไทยประเพณี จากผนังภาพแบบเรียบ ๆ กลายเป็น ภาพคมลกึ และมเี งานนู กลมแบบฝรงั่ และไดม้ กี ารปรบั เขา้ ลกั ษณะของไทยโดยปรบั สว่ นทดี่ มี าผสมกบั ศลิ ปะไทยแบบลกู ผสม ซ่ึงมีความงามขึ้น (วรรณิภา ณ สงขลา,2533: 29) รูปแบบการเขียนภาพดังกล่าวจะปรากฏแทบทุกพ้ืนที่ของ จิตรกรรม ฝาผนังวัดโพธ์ิปฐมมาวาส ซึ่งช่างนามาผสมผสานกลมกลืนกลายเป็นเอกภาพ
  50
          





























































































   58   59   60   61   62