Page 69 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 69

  ภําพพ้ืนดิน มีเทคนิคการระบายสีทั้ง 2 แบบ คือ การเกลี่ยเรียบด้วยสีเดียวให้เกิดน้าหนักอ่อนแก่ ระบายด้วย สีอิฐจาง และการระบายด้วยสีหลายสีให้เกิดน้าหนักอ่อนแก่ให้เกิดระยะมิติตามความเป็นจริงตามธรรมชาติด้วย สีน้าตาลเข้ม สีน้าตาลอ่อน และสีน้าเงินเข้ม ดังเช่น วัดบวรนิเวศวิหารของภาคกลาง ซึ่งปรากฏท้ัง 2 เทคนิคอยู่ในภาพ จิตรกรรมวัดโพธิ์ปฐมมาวาส (ภาพท่ี 2-9)
ภําพส่ิงก่อสร้ําง เป็นส่วนประกอบและมีส่วนรวมที่สาคัญของเน้ือหาหลัก เพื่อส่งเสริมรูปทรงให้มีความสมบูรณ์ ตามเน้ือหาสาระ
- การเขียนภาพสถาปัตยกรรมและอาคารบ้านเรือน การระบายสีจะมี 2 แบบจะใช้วิธีการระบายสีเดียวแต่ไล่ น้าหนักสีให้มีความแตกต่างกันด้วยการระบายสีดาแต่กลมกลืนกัน ในส่วนของหลังคา และอีกวิธี คือ การระบายสีเป็น แผ่นเรียบไม่มีน้าหนักอ่อนแก่ และตัดเส้นด้วยสีน้าตาลเข้ม หรือสีดา เพื่อให้ภาพคมชัดขึ้น เป็นการแสดงขอบเขตและ รายละเอียดของรูปทรงโดยการเขียนจะเลียนแบบบ้านเรือนท้องถ่ินภาคใต้ ท่ีเป็นบ้านเรือนแบบผสม คือเรือนไม้หลังคา ทรงจั่วยกพื้นสูงจากพ้ืนดิน ตามลักษณะบ้านทรงไทยในแถบชนบทท่ัวไป
การเขียนอาคารบ้านเรือนเป็นแบบ 2 มิติ เห็นจั่วหน้าบ้านเป็นด้านหน้า แต่เห็นหลังคาด้านข้าง และเส้นชายคา กับเส้นฐานของบ้านขนานกันตลอดไปและสอบเข้าหากันตามหลักของทัศนียวิสัย (Perspective) ท่ีวัตถุอยู่ไกลควรจะ มีลักษณะเล็กกว่าและมีความรู้สึกท่ีพุ่งเข้าไปในทางลึกความพยายามเขียนภาพให้เหมือนจริง ในสมัยรัตนโกสินทร์ ทมี่ ากขนึ้ ทา ใหข้ นาดของบคุ คลในบา้ นมสี ดั สว่ นเลก็ ลงเพอื่ ใหส้ มั พนั ธก์ บั ตวั บา้ น ซงึ่ เปน็ การคา นงึ ถงึ ขนาดสมั พนั ธท์ เี่ ปน็ จรงิ ตามธรรมชาตมิ ากขนึ้ (สน สมี าตรงั , 2522: 10) นอกจากบา้ นเรอื นแลว้ ชา่ งยงั ไดเ้ ขยี นสถาปตั ยกรรมอนื่ ๆ เปน็ ภาพประกอบ งานจิตรกรรมปริศนาธรรม เช่น อาคารแบบจีนในภาพแนวเรื่องไตรลักษณ์
เทคนิคกํารใช้สีภําพปริศนําธรรมในจิตรกรรมฝําผนังภําคใต้
สีท่ีใช้ในงานจิตรกรรมฝาผนัง มักเป็นวัตถุดิบท่ีได้มาจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ สีโดยรวมจะพบว่าเป็นสีใน วรรณะเย็น และสังเกตได้ว่าภาพเคร่ืองทรงของภาพเทพชุมนุม และภาพยักษ์ไม่มีการใช้สีทองจะใช้สีเหลืองแทนสีทอง จะใช้เฉพาะส่วนที่สาคัญๆเท่าน้ันเพราะเป็นลักษณะของช่างท้องถ่ินภาคใต้จะไม่นิยมใช้สีทอง จึงเป็นเหตุให้โครงสีส่วนรวม มีสีค่อนข้างทึบ มืด และหนัก ซึ่งมีลักษณะพบท่ัวไปของช่างหลวงภาคกลางในสมัยรัตนโกสินทร์ ดังเช่น สีที่ปรากฏ ได้แก่ สแี ดง สเี สน้ สชี มพู สดี า สขี าว สเี หลอื ง สนี า้ ตาล สนี า้ เงนิ สที อง จงึ สามารถจดั กลมุ่ สใี นการแสดงออกทางเทคนคิ เชงิ ชา่ งไดด้ ง้ น้ี
1. กลุ่มสีเอกรงค์ (Monochrome) คือใช้สีเดียวแต่มีน้าหนักอ่อนแก่หลายระดับ เพ่ือสร้างความกลมกลืน และมิติของภาพ จะปรากฏภาพนรกภูมิผนังด้านหลังพระประธานวัดโพธ์ิปฐมาวาส และวัดสุวรรณคีรี เป็นการสร้างความ กลมกลืนของสีน้าตาลโดยลดค่าของสีด้วยการผสมสีขาวและสีดาเพื่อให้เกิดน้าหนักที่แตกต่างกันเพื่อการสร้างบรรยากาศ ให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกของภาพ และทาให้ภาพเกิดระยะมิติซึ่งเป็นเทคนิคเชิงช่างตามแบบศิลปะตะวันตก ที่เน้นการสร้าง แสงเงาให้เกิดข้ึนในภาพ(ภาพท่ี 2-4)
2. กลุ่มท่ีใช้สีข้ํางเคียง เป็นการใช้สีกลมกลืน 2 สี หรือ 3 สี ปรากฏภาพส่วนของผ้าจีวรและพื้นดิน เช่น การใช้ สีแดงกับสีน้าตาล เพื่อสร้างความกลมกลืนและสร้างอารมณ์บรรยากาศของสีและอีกหลายตาแหน่งของภาพจิตรกรรม ฝาผนัง (ภาพท่ี 2-3)
   59
          

























































































   67   68   69   70   71