Page 20 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 20
ั
ิ
ิ
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
์
็
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินพยานหลักฐานที่พบในสถานที่เกิดเหตุ (Evaluate Physical
Evidence Possibility)
มีการกระทำผิดเกิดขึ้นแล้ว เช่น คราบเลือด
้
(Corpus Delict Evidence) ร่องรอยการรื้อคน เป็นต้น
การประเมินถึง คนร้ายทำผิดด้วยวิธีใด เช่น รอยบาดแผล รอยงัด
ี่
วัตถุพยาน (Modus Operandi รอยแกะ เครื่องมือทใช้ใน
ที่บ่งชี้ว่า Evidence) การงัดแงะ เป็นต้น
Evidence)
ิ้
คนร้ายคือผู้ใด เช่น รอยนวมือแฝง
(Associative Evidence) คราบเลือด เส้นผม DNA
เป็นต้น
แผนภาพที่ 5 ขั้นตอนการประเมินพยานหลักฐานที่พบในสถานที่เกิดเหตุ
(Evaluate Physical Evidence Possibility)
คำอธิบายขั้นตอนการประเมินพยานหลักฐานที่พบในสถานที่เกิดเหตุ (Evaluate
Physical Evidence Possibility) มีรายละเอียดดังนี้
เป็นขั้นตอนที่พนักงานสอบสวนต้องประเมินว่าวัตถุพยานชนิดใดที่อาจพบ
ในบริเวณสถานที่เกิดเหตุ ซึ่งประเมินจากขั้นตอนการสำรวจสถานที่เกิดเหตุเบื้องต้น
เพื่อดำเนินการค้นหาวัตถุพยานได้อย่างละเอียด ครบถ้วน และเหมาะสม รวมถึงการเตรียม
อุปกรณ์ วัสดุ หีบห่อ สำหรับการบรรจุวัตถุพยานทั้งหมด ซึ่งการประเมินพยานหลักฐานที่พบ
ในสถานที่เกิดเหตุ
คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน 19