Page 22 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 22

ิ
                                                       ์
                                                           ็
                ิ
                              ั
           โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
                                         ุ
              ขั้นตอนที่ 7 การถ่ายภาพสถานที่เกิดเหต (Photograph the Crime Scene)
                  การถ่ายภาพเป็นวิธีการถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ต่าง ๆ รวมถึงความรู้สึก
           ทำให้เกิดความเข้าใจระหว่างกัน การถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุจะช่วยเพิ่มรายละเอียดของ
           การบันทึกสภาพสถานที่เกิดเหตุ การถ่ายภาพจะเพิ่มความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เจ้าหน้าที่
           ที่ทำหน้าที่ในการบันทึกภาพ ควรจะต้องเตรียมอุปกรณ์ที่สำคัญให้เรียบร้อย ดังนี้








                                                  ี่
                 ต้องทำการตรวจเช็ค   จัดเตรียมอุปกรณ์ทใช้  สมุดบันทึก log
                 สภาพกล้องถ่ายภาพ    ประกอบการถ่ายภาพ   การถ่ายภาพเพื่อ

                 แฟลช เลนส์ ให้มีสภาพ  ได้แก่ ปากกาเคมี   บันทึกรายละเอียด
                    พร้อมใช้งาน      ชอล์ก ไม้บรรทัด หรือ  ของภาพที่ถ่าย เช่น
                                     เทปวัดระยะ         ภาพใดลำดับท   ี่


                การถ่ายภาพ                              เท่าไร

                (1) ระยะไกล

                (2) ระยะกลาง

                (3) ระยะใกล้


             แผนภาพที่ 7 ขั้นตอนการถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุ (Photograph the Crime Scene)


           คำอธิบายขั้นตอนการถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุ (Photograph the Crime Scene)
           มีรายละเอียดดังนี้
                  สำหรับการถ่ายภาพในสถานที่เกิดเหตุนั้น เจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่การถ่ายภาพ
           ไม่ควรมองข้ามวัตถุพยานที่มีขนาดเล็ก การถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุแบ่งออกเป็น 3 ระยะ

           ได้แก่ ระยะไกล ระยะกลาง และระยะใกล้ ทั้งนี้การถ่ายภาพระยะใกล้ จะต้องถ่ายคู่กับ



                       คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน   21
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27