Page 26 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 26

็
                                                 ิ
                              ั
                                                       ์
                ิ
           โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
                      8)  สำหรับการวัด ควรใช้อุปกรณ์การวัดที่เป็นเทปโลหะ ไม่มีการยืดตัว
           และไม่ควรใช้การคำนวณระยะเอง ระหว่างการวัดต้องไม่เคลื่อนย้ายวัตถุพยาน หรือ
           สิ่งใด ๆ ภายในสถานที่เกิดเหตุ

                      9)  การวัดระยะ ผู้เขียนแผนที่แผนผังต้องวัดระยะจากจุดอ้างอิงที่ไม่มี
           การเคลื่อนที่ เช่น ฝาผนัง เสาไฟฟ้า มุมตึก การวัดอ้างอิงกับสิ่งที่ไม่เคลื่อนที่แบ่งออกเป็น

                         • แบบมุมฉาก (Rectangular Coordinate) เป็นการวัดระยะของวัตถุ

                         สิ่งของภายในอาคาร โดยใช้ฝาผนังห้องเป็นจุดอ้างอิงแล้ววัดไปยังจุดที่
                         ต้องการในแนวตั้งฉาก วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมมากที่สุด ดังภาพที่ 3






                               1.
                               20

                               0.
                               55
                                 2.     1.
                                        5
                                 25

                               0.
                               5

                                    3
                                    m





                    ภาพที่ 3 การวัดระยะแบบมุมฉาก (Rectangular Coordinate)


                       คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน   25
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31