Page 29 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 29
ั
ิ
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
ั
็
์
ิ
• แบบใช้เข็มทิศ (Compass Point) วัดโดยมีจุดอ้างอิงเพียงจุดเดียว
โดยการใช้เข็มทิศตั้งอยู่ในตำแหน่งเดียวและใช้ทิศเหนือเป็นหลัก
ทำการวัดตำแหน่งวัตถุที่ทำมุมกับทิศเหนือ และวัดว่าวัตถุนั้น
มีขนาดห่างจุดอ้างอิงระยะเท่าไร ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 การวัดระยะแบบใช้เข็มทิศ (Compass Point)
10) กรณีพบศพ ในสถานที่เกิดเหตุ ให้วัดจากจุดอ้างอิงที่เคลื่อนที่ไม่ได้
ไปยังศีรษะและปลายเท้าของศพ กรณีถ้าปลายแขนยื่นออกไปให้วัดจากปลายแขนด้วย
11) ภายหลังจากทำแผนที่แผนผังจากจุดอ้างอิงแล้ว ให้ทำการวาดและ
ระบุวัตถุพยานที่พบในสถานที่เกิดเหตุ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับคดีลงไปในแผนที่
แผนผัง
12) กรณีถ้าเป็นวัตถุพยานขนาดเล็กให้ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุนั้น ๆ
พร้อมเขียนคำอธิบายรายละเอียดประกอบ
13) ในขณะที่ทำแผนที่แผนผัง เมื่อพบจุดที่มีลักษณะพิเศษ หรือเป็น
ข้อมูลที่สำคัญ เช่น สี แสงสว่าง ควรทำการบันทึกไว้ด้วย เป็นต้น
14) การทำแผนที่แผนผัง ควรระบุถึงรายละเอียดของคดีให้ชัดเจน เชน
่
ขนาดสเกล และทิศเลขคดี สถานที่เกิดเหตุ ชื่อผู้เสียหาย วันและเวลาเกิดเหตุ ชื่อผู้รับผิดชอบ
28 คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน