Page 12 - หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค.31001
P. 12

5



                                                                               1     1 
                                                                      จะได  a         a    1 ;  a  0
                                                                              a     a  
                                                                                            1
                                                                      นั่นคือ จํานวนจริงa จะมี   เปน
                                                                                            a
                                                                      อินเวอรสการคูณ

                           สมบัติการแจกแจง                            a( b   c )  ab  ac


                                                                      ( b   c) a   ba  ca

                   จากสมบัติของจํานวนจริงสามารถใชพิสูจนทฤษฎีบทตอไปนี้ได

                          ทฤษฎีบทที่ 1    กฎการตัดออกสําหรับการบวก

                                 เมื่อ a, b, c เปนจํานวนจริงใดๆ
                                 ถา a + c = b + c แลว a = b

                                 ถา a + b = a + c แลว b = c

                          ทฤษฎีบทที่ 2   กฎการตัดออกสําหรับการคูณ
                                 เมื่อ a, b, c เปนจํานวนจริงใดๆ

                                 ถา ac = bc และ c ≠ 0 แลว a = b

                                 ถา ab = ac และ a ≠ 0 แลว b = c

                          ทฤษฎีบทที่ 3   เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ
                                 a · 0 = 0

                                 0 · a = 0

                          ทฤษฎีบทที่ 4   เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ

                                 (-1)a = -a
                                 a(-1) = -a

                            ทฤษฎีบทที่ 5   เมื่อ a, b เปนจํานวนจริงใด ๆ

                                 ถา ab = 0 แลว a = 0 หรือ b = 0
                          ทฤษฎีบทที่ 6   เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ

                                 a(-b) = -ab

                                 (-a)b = -ab

                                 (-a)(-b) = ab
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17