Page 78 - หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค.31001
P. 78

71



                                                                                                  a
                   1. อัตราสวนของความยาวของดานตรงขามมุม  A ตอความยาวของดานตรงขามมุมฉาก หรือ   c

                        เรียกวา ไซน (sine) ของมุม A

                                                                                                  b
                   2. อัตราสวนของความยาวของดานประชิด มุม A ตอความยาวของดานตรงขามมุมฉาก หรือ     c

                       เรียกวา โคไซน (cosine) ของมุม A

                                                                                                 a
                   3. อัตราสวนของความยาวของดานตรงขามมุม A ตอความยาวของดานประชิด มุม A หรือ     b
                        เรียกวา แทนเจนต (tangent) ของมุม A

                          เรียกอัตราสวนทั้งสามนี้วา อัตราสวนตรีโกณมิติของ A เมื่อ A เปนมุมแหลมในรูปสามเหลี่ยม

                   มุมฉากหรืออาจสรุปไดวา
                                  ความยาวของ ดานตรงขา มมุม A
                          sin A =
                                  ความยาวของ ดานตรงขา มมุมฉาก



                                   ความยาวของ ดานประชิด   A   มุม
                          cos A =   ความยาวของ ดานตรงขา มมุมฉาก



                                  ความยาวของ ดานตรงขา มมุม A
                          tan A =
                                  ความยาวของ ดานประชิด   A   มุม


                   ตัวอยาง กําหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC

                                 มีมุม C เปนมุมฉาก มีความยาวดานทั้งสาม ดังรูป  จงหาคาตอไปนี้   6

                   1. sin A,  cos A  และ  tan A

                   2. sin B,  cos B  และ  tan B                                         8


                   วิธีทํา  กําหนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เปนมุมฉาก จากทฤษฎีบทปทาโกรัส จะได

                                       2
                                              2
                                2
                              วา   AB   AC  BC
                          แทนคา AC  =  8  ,  BC  = 6
                                                 2
                                                      2
                                 ดังนั้น     AB 2    8  6
                                         AB 2    64  36
                                         AB 2   100

                                         AB 2    10 10หรือ 10
                                                           2
                                 นั่นคือ     AB   =  10
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83