Page 133 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 133
ห น า | 133
เฉียง เฉลียง เฉวียง เพ็ญ บําเพ็ญ
ชวย ชํารวย ดาล บันดาล
ตรัย ตํารับ อัญชลี ชลี ชุลี
ถก ถลก อุบาสิกา สีกา
3. การแผลงวรรณยุกต
การแผลงวรรณยุกตเปนการเปลี่ยนแปลงรูป หรือเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต เพื่อใหเสียงหรือรูป
วรรณยุกตผิดไปจากเดิม
ตัวอยาง
คําเดิม คําแผลง คําเดิม คําแผลง
เพียง เพี้ยง พุทโธ พุทโธ
เสนหะ เสนห บ บ
คําซอน
คําซอน คือ คําประสมชนิดหนึ่งที่เกิดจากการนําเอาคําตั้งแตสองคําขึ้นไป ซึ่งมีเสียงตางกัน
มีความหมายเหมือนกัน หรือคลายคลึงกัน หรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย
ใหญโต เปนตน ปกติคําที่นํามาซอนกันนั้นนอกจากจะมีความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกันแลว
มักจะมีเสียงใกลเคียงกันดวยเพื่อใหออกเสียงงาย สะดวกปาก คําที่นํามาซอนแลวทําใหเกิดความหมาย
นั้นแบงเปน 2 ลักษณะ คือ
1. ซอนคําแลวมีความหมายคงเดิม คําซอนลักษณะนี้จะนําคําที่มีความหมายเหมือนกันมา
ซอนกันเพื่อขยายความซึ่งกันและกัน เชน ขาทาส วางเปลา โงเขลา เปนตน
2. ซอนคําแลวมีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
2.1 ความหมายเชิงอุปมา คําซอนลักษณะนี้จะเปนคําซอนที่คําเดิมมีความหมายเปน
รูปแบบเมื่อนํามาซอนกับความหมายของคําซอนนั้นจะเปลี่ยนไปเปนนามธรรม เชน
ออนหวาน ออนมีความหมายวาไมแข็ง เชน ไมออน หวานมีความหมายวา
รสหวาน เชน ขนมหวาน