Page 128 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 128

128 | ห น า



                           ลุกลน               อานวา       ลุก  ลน
                           มีแตคําไทยบางคําที่เราอานออกเสียงตัวสะกดดวย   ทั้งที่เปนคําไทยมิใชคําสมาส   ซึ่ง

                  ผูเรียนจะตองสังเกต  เชน

                           ตุกตา       อานวา       ตุก  กะ  ตา
                           จักจั่น             อานวา       จัก  กะ  จั่น

                           จั๊กจี้             อานวา       จั๊ก  กะ  จี้

                           ชักเยอ             อานวา       ชัก  กะ  เยอ

                           สัปหงก              อานวา       สับ  ปะ  หงก

                  คําสนธิ


                         การสนธิ  คือ  การเชื่อมเสียงใหกลมกลืนกันตามหลักไวยกรณบาลีสันสกฤต  เปนการเชื่อม

                  อักษรใหตอเนื่องกันเพื่อตัดอักษรใหนอยลง  ทําใหคําพูดสละสลวย  นําไปใชประโยชนในการแตงคํา
                  ประพันธ

                         คําสนธิ   เกิดจากการเชื่อมคําในภาษาบาลีและสันสกฤตเทานั้น   ถาคําที่นํามาเชื่อมกัน

                  ไมใชภาษาบาลีสันสกฤต  ไมถือวาเปนสนธิ  เชน  กระยาหาร  มาจากคํา  กระยา  อาหาร  ไมใชสนธิ
                  เพราะ  กระยา  เปนคําไทยและถึงแมวาคําที่นํามารวมกันแตไมไดเชื่อมกัน  เปนเพียงประสมคําเทานั้น

                  ก็ไมถือวาสนธิ  เชน

                         ทิชาชาติ             มาจาก          ทิชา  ชาติ

                         ทัศนาจร มาจาก        ทัศนา          จร
                         วิทยาศาสตร          มาจาก          วิทยา  ศาสตร

                  แบบสรางของคําสนธิที่ใชในภาษาบาลีและสันสกฤต  มีอยู 3 ประเภท  คือ

                         1.  สระสนธิ
                         2.  พยัญชนะสนธิ

                         3.  นิคหิตสนธิ

                  สําหรับการสนธิในภาษาไทย สวนมากจะใชแบบสรางของสระสนธิ
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133