Page 123 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 123

ห น า  | 123






                           ตัวอยาง     มืด หมายถึง ไมสวาง มองไมเห็น เชน หองนี้มืดมาก

                                        มัว หมายถึง คลุม  มึน  หลง  เพลิน

                                        เชน ลูกๆ มัวแตรองรําทําเพลง
                                        มืดมัว  เชน วันนี้อากาศมืดมัวจริงๆ

                         6.  การใชคําที่มีความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัยเราตองศึกษาที่มาของคํา   และดู

                  สภาพแวดลอม เราจะทราบความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัยของคํานั้น
                         ตัวอยาง   แม   หมายถึง  หญิงที่ใหกําเนิดแกลูกเปนความหมายหลัก  แตคําตอไปนี้ไมมี

                  ความหมายหลัก  เชน   แมน้ํา  แมครัว  แมเหล็ก  แมมด  แมเลา  แมสื่อ ฯลฯ

                         เสือ   หมายถึง  สัตวชนิดหนึ่งอยูในปากินเนื้อสัตวเปนอาหารมีนิสัยดุราย   แตคําวา  “เสือ”

                  ตอไปนี้ไมไดมีความหมายตามความหมายหลัก เชน  เสือผูหญิง  เสือกระดาษ  เปนตน
                         7.  ใชคําที่มีตัวสะกดการันต  ใหถูกตองในการเขียนเพราะคําที่ออกเสียงเหมือนกัน  แตเขียน

                  สะกดการันตตางกันยอมมีความหมายตางกัน เชน  สัน  สันต  สรร  สรรค  สันทน  ทั้งหาคํานี้เขียน

                  ตางกัน  ออกเสียงเหมือนกันแตความหมายไมเหมือนกัน  คําวา  สันต  หมายถึง  สงบ  สรร  หมายถึง

                  เลือกสรร  สรรค  หมายถึง  สราง  เปนตน  จึงตองระมัดระวังในการเขียนคําใหถูกตองตามสะกด
                  การันตและตรงความหมายของคํานั้นๆ

                         การเขียนคําการเลือกใชคํายังมีขอควรระวังอีกหลายลักษณะขอใหผูเรียนศึกษาและสังเกตให

                  ดี เพื่อจะไดใชภาษาในการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ

                  การสรางคํา


                         คําที่ใชในภาษาไทยดั้งเดิม  สวนมากจะเปนคําพยางคเดียว  เชน  พี่  นอง  เดือนดาว  จอบ ไถ

                  หมู  หมา  กิน  นอน  ดี  ชั่ว  สอง  สาม  เปนตน  เมื่อโลกวิวัฒนาการ มีสิ่งแปลกใหมเพิ่มขึ้น ภาษาไทย
                  ก็จะตองพัฒนาทั้งรูปคําและการเพิ่มจํานวนคํา   เพื่อใหมีคําในการสื่อสารใหเพียงพอกับการ

                  เปลี่ยนแปลงของวัตถุสิ่งของและเหตุการณตาง ๆ ดวยการสรางคํา ยืมคําและเปลี่ยนแปลงรูปรางคํา ซึ่ง

                  จะมีรายละเอียด  ดังนี้

                  แบบสรางคํา


                         แบบสรางคําคือวิธีการนําอักษรมาประสมเปนคําเกิดความหมายและเสียงของแตละพยางค

                  ใน 1 คํา จะตองมีสวนประกอบ 3 สวน  เปนอยางนอย คือ  สระ  พยัญชนะ และวรรณยุกต  อยางมาก

                  ไมเกิน 5 สวน คือ  สระ  พยัญชนะ  วรรณยุกต  ตัวสะกด  ตัวการันต
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128