Page 122 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 122

122 | ห น า






                  เรื่องที่ 1 การใชคําและการสรางคําในภาษาไทย



                  การใชคํา


                         การสื่อสารดวยการพูดและเขียนจะมีประสิทธิภาพหรือสื่อสารไดดีนั้นตองใชคําใหถูกตอง

                  โดยใชคําที่มีความหมายชัดเจน  ใชคําใหถูกกับกาลเทศะและบุคคล  การใชเครื่องหมายการเวนวรรค

                  ตอน  การสะกดการันตตองถูกตอง  ซึ่งการใชคําใหถูกตองมีหลักการดังนั้น
                         1.  ใชคําใหถูกตองเหมาะสมกับประโยคและขอความ  การใชคําบวงคําในประโยคหรือ

                  ขอความบางครั้งมักใช คําผิด  เชน คําวา  มั่วสุมกับหมกมุน บางคนจะใชวา  “นักเรียนมักมั่วสุมกับ

                  ตําราเรียนเมื่อใกลสอบ” ซึ่งไมถูกตองควรใชคําวา หมกมุน แทนคําวา  มั่วสุม  มักจะใชคําวารโหฐาน
                  ในความหมายวาใหญโตซึ่งความหมายของคํานี้  หมายถึง ที่ลับ  ควรใชคําวา มโหฬารแทน

                         2.  ควรใชใหถูกตองตามหลักภาษา เชน มักจะใชหมายกําหนดการแทนคํา  กําหนดการ ใน

                  งานปกติทั่วไปซึ่งคําวา หมายกําหนดการ จะใชกับงานพระราชพิธี  กําหนดการ  จะใชกับงานทั่วไป

                  เปนตน

                         3.  ควรแบงวรรคตอนของคําไทยใหถูกตอง  เพราะหากแบงตอนผิดก็จะทําใหความหมายผิด
                  ไปได เชน  คนกิน กลวย แขกรอนจนตาเหลือก  ควรเขียน กลวยแขก  ใหติดกัน

                  ยานี้กินแลวแข็ง แรงไมมี โรคภัยเบียดเบียน  ควรเขียน  แข็งแรงใหติดกัน

                         4.  ใชลักษณะนามใหถูกตอง ลักษณะนามเปนลักษณะพิเศษของภาษาไทย ควรใชใหถูกตอง
                  โดยเฉพาะลักษณะนามบางคําที่ไมมีโอกาสใชบอยอาจจะจําไมได  เชน  “ชาง” ซึ่งลักษณะนามชาง

                  เปนเชือก  ตัวอยาง  ชาง  2 เชือก  มักจะใชผิดเปนชาง 2 ตัว  หรือชาง 2 ชาง เปนตน

                         5.  ใชคําใหตรงความหมาย  คําไทย  คําหนึ่งมีความหมายไดหลายอยาง บางคํามีความหมาย
                  โดยตรงบางคํามีความหมายแฝง  บางคํามีความหมายโดยนัย  และบางคํามีความหมายใกลเคียงจึงตอง

                  เลือกใชใหตรงความหมาย

                           5.1  คําที่มีความหมายไดหลายอยาง เชน “ขัน” ถาเปนคํานาม  หมายถึง ภาชนะใชตักน้ํา

                  เชน ขันใบนี้ดีแท “ขัน” ถาเปนคํากริยาก็จะหมายถึง ทําใหตึง เสียงรองของไกและนก เชน  นกเขาขัน
                  เพราะจริงๆ “ขัน” ถาเปนคําวิเศษณ หมายถึง นาหัวเราะ  เชน เธอดูนาขันจริงๆ เปนตน

                           5.2  ความหมายใกลเคียง การใชคําชนิดนี้ตองระมัดระวังใหดี เชน  มืด  มัว ยิ้ม  แยม

                  เล็ก  นอย  ใหญ  โต  ซอม  แซม  ขบ  กัด  เปนตน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127