Page 205 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 205
ห น า | 205
เจาเนื้อละมุน
เจาเนื้อละมุนเอย เจาเนื้ออุนเหมือนสําลี
แมมิใหผูใดตอง เนื้อเจาจะหมองศรี
ทองดีเจาคนเดียวเอย
เจาเนื้อออน
เจาเนื้อออนเอย ออนแมจะกินนม
แมจะอุมเจาออกชม กินนมแลวนอนเปลเอย
เพลงกลอมเด็กในแตละภาค
ในประเทศไทยเรานั้นมีเพลงกลอมเด็กอยูทั่วทุกภาค เนื้อรองและทํานองจะตางกันไปมีชื่อ
เรียกหลายอยาง เชน ภาคเหนือเรียก “เพลงนอนสาหลา” “นอนสาเดอ” ภาคกลางเรียก “เพลงกลอม
เด็ก” “เพลงกลอมลูก” สวนภาคใตเรียก “เพลงชานอง” เพลงนองนอน” และ “เพลงรองเรือ” โดยเพลง
กลอมเด็กเปนคติชาวบานประเภทใชภาษาเปนสื่อที่ถายทอดจากปากตอปากแตโบราณ เรียกวา “มุข
ปาฐะ” มีลักษณะเปนวัฒนธรรมพื้นบานที่มีบทบาทและหนาที่แสดงเอกลักษณของแตละชุมชน
เพลงกลอมเด็กภาคกลาง
เพลงกลอมเด็กภาคกลางเปนที่รูจักแพรหลายและมีการบันทึกไวเปนหลักฐานมากวาเพลง
กลอมเด็กภาคอื่น ซึ่งจะสะดวกแกการศึกษาคนควา การฟนฟูและการอนุรักษ โดยไมมีชื่อเฉพาะ
สําหรับเรียกเพลงกลอมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นตนบทรองดวยคําหลากหลายชนิดตามแตเนื้อหา
ของเพลง ไดมีการศึกษาแบงประเภทเนื้อหาของเพลงกลอมเด็กภาคกลางไวคลายกัน คือ
1. ประเภทสะทอนใหเห็นความรักความผูกพันระหวางแมกับลูก ดังจะเห็นไดจากถอยคําที่
ใหเรียกลูกวาเจาเนื้อละเอียด เจาเนื้ออุน เจาเนื้อเย็น สุดที่รักสุดสายใจ เปนตน
2. ประเภทสะทอนใหเห็นความเปนอยูของไทยภาคกลางในดานตางๆ เชน ความเจริญทาง
วัตถุประเพณี วัฒนธรรมตางๆ ความศรัทธา ความเชื่อ คุณธรรมประจําใจ อารมณขันและการทํามาหา
กินของประชาชน
3. ประเภทใหความรูดานตางๆ เชนความรูทางภาษา ธรรมชาติวิทยา วรรณคดี นิทาน
ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร แบบแผนการปกครองและครอบครัว
ลักษณะทํานองและลีลาของเพลงกลอมเด็กภาคกลางจะเปนการขับกลอมอยางชาๆ
เชนเดียวกับภาคอื่นๆ กลุมเสียงก็จะซ้ําๆ เชนกัน แตจะเนนการใชเสียงทุมเย็น และยึดคําแตละคําให
เชื่อมกลืนกันไปอยางไพเราะ ออนหวาน ไมใหมีเสียงสะดุด ทั้งนี้เพื่อมุงใหเด็กฟงจนหลับสนิทใน
ที่สุด