Page 207 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 207
ห น า | 207
หนวยหนึ่งเก็บไวกินเมื่อแลง หนวยหนึ่งเอาไวขายแลกขาว
หนวยหนึ่งเอาไวเปนเปอนเจา อื่อ อือ จา
เพลงกลอมเด็กภาคอีสาน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เปนดินแดนที่กวางขวางและมีประชากรมากที่สุดใน
บรรดา 4 ภาคของไทยเพลงกลอมลูกจึงมีหลายสําเนียงถาเปนอีสานตอนเหนือจะมีสําเนียงคลาย ลาว
ถาเปนอีสานตอนใตจะมีสําเนียงคลายเขมร แตเพลงกลอมลูกที่แพรหลายและยอมรับวาเปนเอกลักษณ
ของอีสานจะเปนสําเนียงของอีสานตอนเหนือ และมักจะขึ้นตนดวยคําวา “นอนสาหลา” หรือ “นอน
สาเดอ” หรือ “นอนสาแมเยอ” มีทํานองลีลาเรียบงายชาๆ และมีสุมเสียงซ้ําๆ กันทั้งเพลงเชนเดียวกับ
ภาคเหนือ การใชถอยคํามีเสียงสัมผัสคลายกลอนสุภาพทั่วไปและมีคําพื้นบานที่มีความหมายในเชิง
สั่นสอนลูกหลานดวยความรักความผูกพัน ซึ่งมักประกอบดวย 4 สวนเสมอ คือสวนที่เปนการ
ปลอบโยน การขูและการขอโดยมุงใหเด็กหลับเร็วๆ นอกจากนี้ก็จะเปนคําที่แสดงสภาพสังคมดาน
ตางๆ เชนความเปนอยู บรรยากาศในหมูบาน คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีเปนตน คุณคาของ
เพลงกลอมเด็กอี่สานจึงมีพรอมทั้งทางดานจิตใจและดานการศึกษาของชาติ
ตัวอยาง เพลงกลอมเด็กของภาคอีสาน
นอนสาหลาหลับตาสามิเยอ
แมไปไฮ หมกไข มาหา
แมไปนา จี่ปา มาปอน
แมเลี้ยงมอน ในปา สวนมอน
เพลงกลอมเด็กภาคใต
ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใตเปนภาษาที่คนไทยสวนใหญรูจักมากที่สุดเพราะมีสําเนียงที่เปน
เอกลักษณชัดเจนที่สุด เชนเดียวกับเพลงกลอมเด็กภาคใตที่มีทํานองและลีลาเดนเปนของตนเองเพลง
กลอมเด็กภาคใตมีชื่อเรียก 4 อยาง คือ เพลงรองเรือ เพลงชานองหรือเพลงชานอง เพลงเสภาและ
เพลงนองนอน ที่เรียกเพลงรองเรือ สันนิษฐานวานาจะเปนลักษณะของเปลที่ใชผาผูกมีรูปรางคลาย
เรือ เพลงชานองหรือชานอง คําวา ชา มาจากคําวา บูชา ซึ่งแปลวาสดุดีหรือกลอมขวัญ ชานองหรือ
ชานองจึงหมายถึงการสดุดีแมซื้อ ซึ่งเชื่อกันวาเปนเทวดาหรือผีประจําทารก เพลงเสภาเปนเพลงที่ใช
โตคารมกันเปนบทปฏิพากยแสดงปฏิภาณไหวพริบ นํามาใชเปนเพลงกลอมลูกนองนอน เปนการมุง
กลอมนองหรือกลอมลูกโดยตรง ลักษณะเดนของเพลงกลอมลูกภาคใตไมวาจะเปนเพลงประเภทใด
คือมักจะขึ้นตนดวยคําวา “ฮา เออ” หรือคําวา “เหอ” แทรกอยูเสมอในวรรคแรกของบทเพลง แลว