Page 206 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 206
206 | ห น า
ตัวอยางเพลงกลอมเด็กภาคกลาง
โอละเหเอย แมจะเหใหนอนวัน
ตื่นขึ้นมาจะอาบน้ําทําขวัญ นอนวันเถิดแมคุณ
พอเนื้อเย็นเอย แมมิใหเจาไปเลนที่ทา
จระเขหรา มันจะคาบเจาเขาถ้ํา
เจาทองคําพอคุณ
เพลงกลอมเด็กภาคเหนือ
สําหรับภาคเหนือมีเพลงกลอมลูกสืบทอดเปนลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาชานาน
อาจารยสิงฆะ วรรณไสย แหงมหาวิทยาลัยเชียงใหม เรียกฉันทลักษณของเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ
วา “คําร่ํา” ซึ่งจัดเปนลํานําชนิดหนึ่งหมายถึงการร่ําพรรณนามีเสียงไพเราะสูงต่ําตามเสียงวรรณยุกต
ของสําเนียงภาคเหนือ นิยมใชแตงในการร่ําบอกไฟขึ้น ร่ําสรางวิหาร ร่ําสรางเจดีย ร่ําสรางถนนขึ้น
ดอยสุเทพ และแตงเปนคํากลอมเด็ก
คํากลอมเด็กนี้พอแม ปูยา ตายาย ในภาคเหนือสมัยกอนมักจะใชขับกลอมสอนลูกหลาน
ขณะอุมเด็กนั่งชิงชาแกวงไกวชาๆ จนเด็กงวงนอนจึงอุมไปวางบนที่นอนหรือในแปลแลวแหกลอม
ตอจนเด็กหลับสนิทคํากลอมเด็กนี้จึงเรียกวา “สิกจุงจาโหน” ตามคําที่ใชขึ้นตนเพลง
ลักษณะเดนของเพลงกลอมเด็กภาคเหนือนอกจากจะขึ้นตนดวยคําวา สิกจุงจาโหนแลวยัง
มักจะขึ้นตนดวยคําวา “อื่อจา” เปนสวนใหญจึงเรียกเพลงกลอมเด็กนี้วา เพลงอื่อลูก ทํานองและ
ลีลาอื่อลูกจะเปนไปชาๆ ดวยน้ําเสียงทุมเย็น ตามถอยคําที่สรรมาเพื่อสั่งสอนพรรณนาถึงความรัก
ความหวงใยลูกนอย จนถึงคําปลอบ คําขู ขณะยังไมยอมหลับถอยคําตางๆในเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ
จะสะทอนใหเห็นสภาพความเปนอยู สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตางๆ ของคนในภาคเหนือในอดีตจน
ปจจุบันไดเปนอยางดีนับวาเปนประโยชนทางออมที่ไดรับนอกเหนือจากความอบอุนใจของลูกที่จะ
เปนประโยชนโดยตรงของเพลงกลอมเด็ก
ตัวอยางเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ
อื่อ อื่อ อือ จา ปอนายแดงสา
แมนายไปนานอกบาน เก็บบาสานใสโถง
เก็บลูกกง ใสวา เก็บบาหาใสปก