Page 16 - คู่มือยุทธวิธีตำรวจ 2561
P. 16
13
8. กำรวำงก ำลังเจ้ำหน้ำที่ต ำรวจ จะต้องใช้เจ้ำหน้ำที่ต ำรวจจ ำนวนมำกกกว่ำกำรตั้งจุดตรวจแบบอื่น
เนื่องจำกเป็นบริเวณที่เป็นสี่แยกที่มีกำรควบคุมสัญญำณไฟจรำจรด้วยบุคคล จึงต้องมีเจ้ำหน้ำที่ต ำรวจ
ในกำรปฏิบัติมำก รวมทั้งผู้ควบคุมจะต้องให้ควำมส ำคัญกับพื้นที่ในส่วนที่ห้ำมำกกว่ำส่วนที่หนึ่ง ซึ่งโอกำสของ
ผู้เจตนำจะหลบหนีโดยวกยำนพำหนะกลับจะน้อยกว่ำกำรหลบหนีจำกพื้นที่ส่วนที่ห้ำ ดังนั้นกำรควบคุมสั่งกำร
จึงควรก ำหนดให้ผู้ควบคุมจุดตรวจดังกล่ำวนี้อยู่ในบริเวณส่วนที่มีกำรจอดรถยนต์สำยตรวจไว้ เพื่อให้สั่งกำร
มำกขึ้นรวมทั้งในกำรก ำหนดสัญญำณไฟจรำจร หำกพิจำรณำได้ว่ำจะมีผลกระทบกับกำรจรำจรด้ำนอื่น ๆ
ที่จะต้องมีกำรสัมพันธ์กันกับพื้นที่ข้ำงเคียง
กำรตั้งจุดตรวจค้นทำงร่วมแยก (ด้ำนหน้ำ)
หมำยเหตุ ในกำรตั้งจุดตรวจบนทำงเดินรถที่มีกำรจรำจรบริเวณสี่แยก ควรให้ควำมส ำคัญกับพื้นที่ใน
ส่วนที่ก ำหนดให้เป็นส่วนตรวจค้นอย่ำงละเอียดมำกกว่ำส่วนอื่น ๆ หำกมีก ำลังเจ้ำหน้ำที่ต ำรวจไม่เพียงพอ
กำรตั้งจุดตรวจค้นย่อยหรือจุดสกัด
1. กำรตั้งจุดตรวจค้นย่อยหรือจุดสกัด เป็นปฏิบัติกำรในสภำพถนนสำยเล็กที่มีกำรจรำจรไม่หนำแน่น
คับคั่ง หรือตรอกซอย และในเหตุกำรณ์ฉุกเฉิน หรือกรณีเร่งด่วน ซึ่งอำจไม่มีเจ้ำหน้ำที่ต ำรวจและอุปกรณ์เพียง