Page 22 - คมองานบรหาร_Neat
P. 22
18
อาชญากรรมหรือภัยอันตรายต่าง ๆ โดยตรง ก็คือ ประชาชน นั่นเอง ถ้าหากประชาชนยังคงมีความรู้สึก
หวาดกลัวต่ออาชญากรรมอยู่ ก็เชื่อได้ว่ามาตรการในการป้องกันอาชญากรรมนั้นยังไม่สามารถประสบผลส าเร็จได้
วิธีหนึ่งที่จะวัดผลความส าเร็จจากการป้องกันในลักษณะของผลลัพธ์ (Outcome) ก็จะต้องวัดกันที่ระดับ
ความหวาดกลัวต่ออาชญากรรมของประชาชนในพื้นที่หรือในเขตสถานีนั้น ๆ เพราะฉะนั้น ในการท างานจะต้อง
ค านึงถึงความรู้สึก หรือความต้องการของประชาชนเป็นหลักและจึงน ามาปรับใช้หามาตรการในการป้องกัน
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกระดับสถานีต ารวจ
2. แฟ้มข้อมูล 3. วิเคราะห์ 4. ก าหนด
1. X-Ray
พื้นที่ล่อแหลม มาตรการป้องกัน
8. เริ่มส ารวจใหม่
7. ประเมิน 6. น าข้อมูลมาตรการ 5. ด าเนินการ
เข้าแฟ้มข้อมูล ตามมาตรการ
หมายเหตุ ระดับ บก. / ภ.จว. ควบคุมตรวจสอบ
การด าเนินการให้เป็นไปตามแนวทางที่ก าหนด
ขั้นตอนการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก ( ตามสภาพพื้นที่และสภาพแวดล้อม )
1. X - Ray พื้นที่ดังนี้
1.1 แบ่งพื้นที่รับผิดชอบให้ย่อยลง โดยให้เหมาะสมกับก าลังพลที่มี
1.2 ออกค าสั่งจัดคนเป็นผู้รับผิดชอบการ X - Ray พื้นที่ในแต่ละเขตย่อยที่แบ่งไว้ตามข้อ 1.1
1.3 ประชุมชี้แจงผู้ปฏิบัติตามข้อ 1.2 ให้ทราบถึงเขตรับผิดชอบและภารกิจในการปฏิบัติ
(แจกแบบฟอร์มการ X - Ray พื้นที่ด้วย)
1.4 ให้ผู้ปฏิบัติตามข้อ 1.2 ออกไปส ารวจหาพื้นที่ล่อแหลมโดยพิจารณาจาก
1.4.1 พื้นที่ที่เคยมีคดีเกิด
1.4.2 สอบถามจากประชาชนในพื้นที่ ว่าบริเวณใดที่หวาดกลัวภัยอาชญากรรม
1.5 กรอกข้อมูลพื้นที่ล่อแหลมตามแบบฟอร์ม น าเสนอ สวป. / รอง ผกก.ป.
2. จัดท าแฟ้มข้อมูล พื้นที่ล่อแหลม ที่ได้จากการ X - Ray ตามข้อ 1 โดยจัดแฟ้มแยกตามพื้นที่ที่ออกค าสั่ง
เก็บไว้ที่สถานี โดยมอบหมายหัวหน้างาน ป. รับผิดชอบ
3. วิเคราะห์พื้นที่ล่อแหลม ระบบการรักษาความปลอดภัย , การตรวจตราดูแลพื้นที่ช่วงเวลาที่น่าเกิดเหตุ
4. วางมาตรการป้องกัน
- ผกก. เป็นหัวหน้าในการวางมาตรการป้องกัน เนื่องจากบางมาตรการต้องอาศัยการบูรณาการของ
งานหลายฝ่ายในสถานีต ารวจ
- มาตรการป้องกันที่น ามาใช้กับพื้นที่ล่อแหลม ได้แก่