Page 13 - Digital Economy Plan-fullversion
P. 13
- 10 -
โดยแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีหลักการน าทาง 5 ข้อ ดังนี้
1 ความสอดคล้อง
ความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาดิจิทัลฯ ต้องเป็นไปอย่างสอดคล้องและ
สนับสนุนทิศทางการพัฒนาของประเทศโดยรวม ทั้ง
การน าเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาและ
ความท้าทายของประเทศในยุคปัจจุบัน และรองรับ
2 การใช้ประโยชน์ ความท้าทายด้านต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน
อนาคต
การใช้ประโยชน์สูงสุดจากพลวัตของ
เทคโนโลยีดิจิทัล แผนพัฒนาดิจิทัลฯ ต้อง
เกื้อหนุนให้ทุกภาคส่วนสามารถใช้ประโยชน์
สูงสุดจากพลวัตของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และส่งผลต่อ
โครงสร้างของระบบเศรษฐกิจและสังคม 3 การเข้าถึง
ทั้งเชิงบวกและลบ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถ
ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีได้อย่างก้าวกระโดด การเข้าถึงของคนทุกกลุ่ม ยุทธศาสตร์และ
แผนงานของแผนพัฒนาดิจิทัลฯ ต้องสนับสนุนการ
เข้าถึงของคนทุกกลุ่ม หรือให้มากกลุ่มที่สุด
27-09-1711:09:51
27-09-1711:09:51
ซึ่งรวมถึงผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ห่างไกลและยากจน
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ โดยมุ่งเน้น
4 การวางแผน การมีส่วนร่วม และการเข้าถึงเทคโนโลยี ข้อมูล
ข่าวสาร สื่อการเรียนรู้ และบริการดิจิทัลของรัฐ
การวางแผนจากข้อมูลความพร้อมของประเทศ ในทุกบริการ
การก าหนดยุทธศาสตร์และแผนงานของ
แผนพัฒนาดิจิทัลฯ ต้องตระหนักถึง
ความพร้อมด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของประเทศ
ไทยในมิติต่างๆ เช่น โครงสร้างพื้นฐาน
การเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีของประชาชน 5 การขับเคลื่อน
ภาคธุรกิจ หน่วยงานรัฐ ความพร้อมด้านบุคลากร
อุตสาหกรรม ฯลฯ เพื่อให้มาตรการต่างๆ การรวมพลังทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อน
ที่ก าหนดตามแผนพัฒนาดิจิทัลฯ ฉบับนี้ น าไปสู่ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลฯ ไปสู่การปฏิบัติ
การพัฒนาที่เป็นไปได้จริงในทางปฏิบัติ ต้องเป็นไปตามแนวทาง “ประชารัฐ” ซึ่งเน้นความ
ร่วมมือ ร่วมใจ และรวมพลังของทุกภาคส่วน
ทั้งภาคประชาชน ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ หรือ
ภาครัฐ และท้ายสุดผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจะ
กลับคืนสู่ทุกภาคส่วน โดยในกรณีของการพัฒนา
ดิจิทัล จะเน้นให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเป็น
ผู้น าการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม และ
ภาครัฐจะเป็นผู้อ านวยความสะดวก และส่งเสริม
สนับสนุนภาคประชานและภาคธุรกิจควบคู่ไปกับ
การปรับปรุงประสิทธิภาพของภาครัฐด้วยดิจิทัล