Page 11 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 11
ก่อนเดินไปยังภพหน้ําหรือเตรียมตัวสําหรับไปไหว้พระจุฬํามณีเจดีย์ กํารอําบน้ําศพจะใช้น้ําร้อน ก่อนแล้วตํามด้วยน้ําเย็น และใช้ขมิ้นชันสดกับผิวมะกรูดขัดสีให้ท่ัวร่ํางกํายอีกที จํากนั้นจึงถวําย พระสุคนธ์ (เครื่องหอม) แล้วพระมหํากษัตริย์นําพระบรมวงศํานุวงศ์และข้ํารําชบริพํารสรงน้ําลง บนพระบําท หลังจํากนั้นจึงทํากํารถวํายสํางพระเกศํา (ผม) โดยใช้พระสํางไม้ เมื่อหวีเสร็จแล้ว จงึ หกั พระสํางนนั้ นยั วํา่ เปน็ ปรศิ นําธรรมวํา่ ไมต่ อ้ งกํารควํามสวยงํามอกี แลว้ (เปน็ ไปไดว้ ํา่ ธรรมเนยี ม กํารหักหวีน้ีคงมําจํากจีน เพ่ือเป็นกํารตัดสํายสัมพันธ์ระหว่ํางคนเป็นกับคนตําย) สําหรับในปัจจุบัน สถํานที่สรงน้ําพระบรมศพใช้พระท่ีนั่งพิมํานรัตยํา ซึ่งเชื่อมต่อกับมุขกระสันพระท่ีน่ังดุสิต มหําปรําสําท
จํากนั้นจึงเป็นกํารถวํายสุกําพระบรมศพคือ กํารใส่เครื่องแต่งกําย และมัดตรําสัง สําหรับ เครอ่ื งพระมหําสกุ ํา ของพระมหํากษตั รยิ ต์ ํามโบรําณรําชประเพณจี ะประกอบดว้ ยพระภษู ําหลํายชน้ั เครอื่ งประดบั จํา นวนมําก แผน่ ทองจํา หลกั ลํายปดิ ทพี่ ระพกั ตร์ และพระมําลําสกุ ํา ซงึ่ เปน็ พระมหํามงกฎุ เม่ือถวํายสุกําเสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระบรมศพลงสู่พระโกศเพื่อประดิษฐํานบนพระแท่นสุวรรณ เบญจดลในพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําท เหนือพระโกศมีพระนพปฎลมหําเศวตฉัตรกํางก้ัน ท่ําทําง ของพระบรมศพในพระโกศจะถกู จดั วํางในทํา่ นง่ั ประนมกร โดยมี “ไมก้ ําจบั หลกั ” หมุ้ ทองคํา้ พระหนุ (คําง) เพ่ือค้ําพระเศียร แล้วเอําซองพระศรี (หมําก) และเครื่องบูชําใส่ในพระหัตถ์ (มือ) เพื่อเป็น เครื่องสักกําระพระจุฬํามณี จํากนั้นจึงพันธิกํารด้วยผ้ําขําวเนื้อดีห่อเป็นอันมําก เสร็จแล้วจึงเชิญ พระบรมศพลงในพระโกศหนุนด้วยหมอนโดยรอบเพ่ือกันเอียงเป็นอันเรียบร้อย
อนึ่ง แผ่นทองจําหลักลํายปิดท่ีพระพักตร์มีช่ืออีกอย่ํางว่ํา พระสุพรรณจําหลักปริมณฑล ฉลองพระพกั ตร์ มหี นํา้ ทปี่ ดิ ใบหนํา้ ของศพเพอื่ ปอ้ งกนั มใิ หเ้ หน็ สง่ิ มบิ งั ควร (เชน่ เพอื่ ไมใ่ หเ้ หน็ ใบหนํา้ ของศพท่ีอําจเริ่มเส่ือมสภําพ) เป็นไปได้ว่ํา ธรรมเนียมกํารปิดหน้ําศพด้วยหน้ํากํากทองคํานี้ พบทั้งในอํารยธรรมจีน เช่น ในสมัยรําชวงศ์เหลียว และยังปรํากฏวัฒนธรรมน้ีในอําณําจักรจํามปํา และชวําเช่นกัน
ธรรมเนียมกํารบรรจุพระบรมศพลงในพระโกศของเจ้ํานํายชั้นสูงน้ีได้เปลี่ยนมําเป็น กํารบรรจลุ งหบี ศพในงํานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรําบรมรําชชนนี เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๘ สง่ ผล ทําให้ข้ันตอนกํารสุกําแบบดั้งเดิมลดทอนควํามซับซ้อนลงไป แต่ยังคงไว้ซึ่งธรรมเนียมอื่นได้แก่ กํารถวํายซองพระศรี กํารถวํายแผ่นทองจําหลักปิดที่พระพักตร์ ในขณะที่พระชฎําได้เปลี่ยนมํา วํางไว้ที่ข้ํางพระเศียรแทนกํารสวม สําหรับพระบรมศพพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพล อดุลยเดช ได้เป็นท่ีประดิษฐํานอยู่เบื้องหลังพระแท่นสุวรรณเบญจดลในหีบพระบรมศพโดยต้ังอยู่ บนพระแท่นแว่นฟ้ําขนําดย่อม
สําหรับพระโกศแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ ๑) พระโกศสําหรับทรงพระบรมศพ และ ๒) พระโกศพระบรมอัฐิ สําหรับพระโกศพระบรมศพมี ๒ ชั้น ชั้นนอกเรียกว่ํา “พระลอง” (มําจําก คําว่ํา โลง) ทําจํากไม้หุ้มทองปิดทอง และช้ันในเรียกว่ํา “พระโกศ” (คําว่ําโกศแปลว่ําเคร่ืองห่อหุ้ม หรือครอบ) ทําด้วยโลหะปิดทอง ต่อมํานิยมเรียกพระลองเป็นพระโกศทําให้เรียกพระลองทองใหญ่ วํา่ พระโกศทองใหญ่ พระโกศนมี้ กั จดั ทํา ในชว่ งปลํายรชั กําล ไมใ่ ชต่ น้ รชั กําล เพรําะถอื วํา่ ไมเ่ ปน็ มงคล และจะสร้ํางก็ต่อเมื่อมีควํามจําเป็นเท่ําน้ัน
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๙
เสด็จสู่แดนสรวง