Page 12 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 12

ประเพณีกํารบรรจุศพลงในโกศน้ี เดิมทีเชื่อว่ํารับอิทธิพลมําจํากอินเดีย แต่นักวิชํากําร หลํายคนในปัจจุบันให้ควํามเห็นสอดคล้องไปในทํางเดียวกันว่ํามีรํากมําจํากประเพณีกํารฝังศพ ในภําชนะทรงไหหรอื หมอ้ ซง่ึ เปน็ กํารฝงั ศพครงั้ ทสี่ อง (secondary burial) ทพี่ บเปน็ วฒั นธรรมรว่ ม ในอุษําคเนย์เช่นที่พบในเขตทุ่งไหหินในลําว หรือในทุ่งกุลําร้องไห้ เป็นต้น ร่องรอยของกํารฝังศพ ครงั้ ทส่ี องนี้ เหน็ ไดจ้ ํากในกรณพี ระศพของพระเจํา้ นอ้ งนํางเธอ พระองคเ์ จํา้ หญงิ เจรญิ กมลสขุ สวสั ด์ิ พระรําชธิดําในรัชกําลที่ ๔ ท่ีสิ้นพระชนม์ขณะทรงมีพระชนมมํายุเพียง ๗ พรรษํา เมื่อถึงครําว พระรําชทํานเพลงิ พระศพ รัชกําลที่ ๕ โปรดให้เจ้ําพนักงํานขุดพระศพในหีบที่ฝังไว้ที่วัดสระเกศ ขึ้นมําใส่พระโกศมณฑปก่อนอัญเชิญไปพระเมรุ ทว่ําต้นแบบของกํารบรรจุพระบรมศพ/พระศพ ลงในพระโกศของสยํามน้ี ควรได้รับมําจํากวัฒนธรรมเขมรท่ีเมืองพระนคร ดังปรํากฏภําพสลักของ พระโกศทร่ี ะเบยี งคดปรําสําทบํายน เหตทุ โี่ กศตอ้ งตงั้ อยบู่ นฐํานสงู อนั ไดแ้ กฐ่ ํานพระแทน่ แวน่ ฟํา้ ทอง และสวุ รรณเบญจดลนน้ั นอกจํากจะทํา ใหพ้ ระโกศตงั้ อยใู่ นทสี่ งู โดดเดน่ แลว้ ฐํานทย่ี กสงู พรอ้ มประดบั ประดํารูปสัตว์หิมพํานต์และอ่ืนๆ ย่อมบ่งบอกว่ําเป็นสัญลักษณ์แทนเขําพระสุเมรุ
ส่วนที่สอง พิธีกรรมต่างๆ ในระหว่างการต้ังพระบรมศพ และการปฏิบัติตนของผู้ท่ีมีชีวิต
ในระหวํา่ งงํานพระบรมศพพระบรมวงศํานวุ งศ์ขํา้ รําชบรพิ ํารและรําษฎรจะตอ้ งทํา กํารไวท้ กุ ข์ ในอดีต ชุดไว้ทุกข์จะเป็นชุดสีขําว ต่อมําเมื่อรับอิทธิพลจํากตะวันตกโดยเฉพําะอังกฤษในสมัย รัชกําลท่ี ๕ จึงเริ่มจัดระเบียบใหม่ด้วยโดยสีดําใช้สําหรับผู้ใหญ่ สีขําวใช้สําหรับผู้เยําว์ และสีม่วงแก่ หรือสีน้ําเงินสําหรับผู้ที่มิได้เป็นญําติกับผู้ตําย อย่ํางไรก็ดี แบบแผนที่ยุ่งยํากในกํารแต่งกําย ไว้ทุกข์ได้เปลี่ยนมําใช้สีดําเป็นหลักในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครําม ส่วนกํารโกนผมไว้ทุกข์ถือเป็น ธรรมเนียมเก่ําของคนในอุษําคเนย์อําจเริ่มต้ังแต่ในสมัยฟูนัน (ในเขตกัมพูชํา-เวียดนําม) เมื่อรําว พุทธศตวรรษที่ ๑๑ และมํายกเลิกในสมัยรัชกําลท่ี ๕ นี้เอง ทั้งนี้เพรําะมองว่ําเป็นธรรมเนียมที่ พน้ สมยั ไปแลว้ ดงั นนั้ ถํา้ อธบิ ํายในอกี ลกั ษณะหนงึ่ กํารไวท้ กุ ขไ์ มว่ ํา่ จะเปน็ เรอ่ื งสขี องชดุ ไวท้ กุ ขแ์ ละ กํารโกนผมไม่ใช่เป็นเรื่องของวัฒนธรรมและแบบแผนทํางสังคมเท่ํานั้น หํากยังสัมพันธ์กับอํานําจ ของรัฐในกํารสั่งให้แต่งหรือสั่งให้เลิกไปพร้อมกันด้วย
ภํายใต้อิทธิพลของพระพุทธศําสนํา ระหว่ํางกํารตั้งพระบรมศพจะมีพิธีสงฆ์ด้วยกํารสวด สดับปกรณ์ หรือสวดอภิธรรมทํานองหลวง ๗ คัมภีร์ เพื่อเป็นกํารบําเพ็ญพระรําชกุศลอุทิศถวําย แด่ดวงพระวิญญําณ กํารสดับปกรณ์น้ีเป็นคนละอย่ํางกับสวดบังสุกุล ดังสมเด็จฯ กรมพระยําดํารง รําชํานภุ ําพทรงอธบิ ํายไวว้ ํา่ สดบั ปกรณม์ มี ลู เหตมุ ําจํากพระพทุ ธเจํา้ เสดจ็ ขนึ้ ไปโปรดพระพทุ ธมํารดํา บนสวรรคแ์ ลว้ ประทํานเทศนําจํากพระธรรม ๗ คมั ภรี ์ เพอื่ แสดงถงึ ควํามกตญั ญตู อ่ ผลู้ ว่ งลบั ในขณะท่ี บังสุกุลเป็นผ้ําที่ถวํายให้กับพระภิกษุสงฆ์ในงํานศพ ถึงกระนั้นก็นิยมเรียกพิธีท้ังกํารทอดผ้ําและ กํารสวดพระอภธิ รรมโดยรวมวํา่ สดบั ปกรณ์ สํา หรบั พระสงฆผ์ ทู้ ํา หนํา้ ทสี่ วดพระอภธิ รรมทํา นองหลวงนี้ มีสมณศักด์ิเฉพําะเรียกว่ําพระพิธีธรรม ท่วงทํานองกํารสวดนี้ว่ํากันว่ําสืบมําแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยํา ซึ่งปัจจุบันมีเพียงบํางพระบํางวัดโดยมีอยู่ ๙ วัดที่สวดทํานองนี้ได้
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   10   11   12   13   14